ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมวดหมู่:ศูนย์ศึกษาการพัฒนา"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) (สร้างหน้าใหม่: ข้อมูลศูนย์ศึกษาการพัฒนา หมวดหมู่:รัชกาลที่9[[หมวดหมู่...) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | + | <h3>ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ</h3> | |
+ | <div class="kindent">เมื่อโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริขยายออกไปมากมายนับร้อยพันโครงการ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริให้ก่อตั้ง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพื่อเป็นศูนย์รวมการศึกษาค้นคว้า ทดลอง วิจัย เพื่อแสวงหาแนวทางและวิธีการพัฒนาด้านต่างๆ ที่เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและการประกอบอาชีพของราษฎรที่อาศัยอยู่ในแต่ละภูมิภาค ทรงเลือกพื้นที่จัดตั้งศูนย์ด้วยพระองค์เองเพื่อให้เป็นตัวแทนในแต่ละภูมิภาค โดยมีภารกิจหลัก คือ พัฒนาด้านเกษตรกรรม ฟื้นฟู และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและศึกษาค้นคว้าวิจัยทดลองพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริเป็นเสมือน “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” ให้ราษฎรที่อาศัยอยู่ในแต่ละท้องที่นั้นๆ ได้ศึกษาเรียนรู้ รวมถึงเป็น “ต้นแบบ” การบริหารที่เป็นการรวมศูนย์ นั่นก็คือ การนำเอาส่วนราชการที่เกี่ยวข้องหลากหลายหน่วยงานมารวมไว้ ณ ที่แห่งเดียว ในลักษณะระบบบริการ “เบ็ดเสร็จ” ที่จุดเดียว และร่วมกันดำเนินงานโดยไม่มีหน่วยงานใดเป็นเจ้าของ เพื่อให้เกษตรกรนำไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพที่เหมาะสม พัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น และอำนวยประโยชน์สูงสุดแก่ราษฎร | ||
+ | </div> | ||
+ | {| width="100%" border="1" | ||
+ | |align = "center" width="30%"|ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาพระราชดำริ<br>||align = "center" width="20%"|ก่อตั้งเมื่อ||align = "center" width="50%"|ภารกิจหลักในปัจจุบัน | ||
+ | |- | ||
+ | |[[ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน|เขาหินซ้อน]]<br>อำเภอพนมสารคาม<br>จังหวัดฉะเชิงเทรา||วันที่ ๘ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๒๒||เป็นศูนย์ตัวอย่างที่รวมการปรับปรุงและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและการพัฒนาด้านเกษตรกรรม อย่างสมบูรณ์แบบ อาทิ ปศุสัตว์ การจัดตั้งธนาคารโค - กระบือ การส่งเสริมด้านการประมง การพัฒนาด้านไม้ดอกไม้ผล และการจัดการด้านสหกรณ์<br> | ||
+ | |- | ||
+ | |[[ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน|อ่าวคุ้งกระเบน]]<br>อำเภอท่าใหม่<br>จังหวัดจันทบุรี||พุทธศักราช ๒๕๒๕||ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิจัย และสาธิตการพัฒนาและอนุรักษ์สภาพแวดล้อมชายฝั่งทะเล การบำบัดน้ำเสียจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ การอนุรักษ์และรวบรวมพันธุ์ไม้ป่าชายเลน การวิจัยและทดสอบระบบการเกษตรผสมผสาน การส่งเสริมความรู้ในเรื่องการสหกรณ์ การอบรมด้านปศุสัตว์ เป็นต้น ศูนย์ศึกษาการพัฒนาแห่งนี้ได้รับความสนใจจากประชาชนทั่วไปเป็นอย่างมากจนพุทธศักราช ๒๕๔๕ ได้รับรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวประเภทองค์กรส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว<br> | ||
+ | |- | ||
+ | |[[ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง|พิกุลทอง]]<br>อำเภอเมืองนราธิวาส<br>จังหวัดนราธิวาส||วันที่ ๖ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๕||ศึกษา วิจัย และพัฒนาสภาพดินพรุให้สามารถใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร การพัฒนาอุตสาหกรรมครอบครัว พัฒนาด้านปาล์มน้ำมันและร่วมกับกรมวิชาการเกษตรทดลองการพัฒนายางพาราอย่างครบวงจร เช่น การพัฒนาดินอินทรีย์และดินที่เปรี้ยวจัดการใช้น้ำชะล้างกรดจากดิน การพัฒนาพื้นที่ป่าพรุการอนุรักษ์และบำรุงพันธุ์ไม้ในป่าพรุ การทดลองด้านประมงและเลี้ยงสัตว์ รวมถึงไม้ดอกไม้ประดับ | ||
+ | |- | ||
+ | |[[ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน|ภูพาน]]<br>อำเภอเมืองสกลนคร<br>จังหวัดสกลนคร||วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๒๕||ครอบคลุมงานทุกด้านที่มีผลต่อการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เช่น การพัฒนาระบบชลประทาน การปลูกพืชเศรษฐกิจ การศึกษาระบบนิเวศของป่า การบำรุงดิน การพัฒนาด้านปศุสัตว์และการประมง | ||
+ | |- | ||
+ | |[[ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้|ห้วยฮ่องไคร้]]<br>อำเภอดอยสะเก็ด<br>จังหวัดเชียงใหม่||วันที่ ๑๑ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๕||ศึกษา ทดลอง และวิจัย เพื่อหารูปแบบของการพัฒนาแหล่งน้ำและป่าไม้ที่เหมาะสมกับพื้นที่ภาคเหนือและเผยแพร่ให้ชาวบ้านได้นำไปปฏิบัติ ให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ซึ่งแนวคิดหลักของศูนย์คือ <div style="color:darkgreen">"ต้นทางคือป่าไม้ (พื้นที่ต้นน้ำลำธารของภาคเหนือให้สมบูรณ์ )ปลายทางคือประมง (ตามอ่างเก็บน้ำ) ระหว่างทางคือ เกษตรกรรม (มีการปลูกพืชไม้ผล การปลูกหญ้าแฝก การเกษตรแบบประณีต และการปศุสัตว์)"</div>เพื่อเป็นต้นแบบในการพัฒนาลุ่มน้ำอื่นๆ ในภูมิภาค โดยใช้ระบบชลประทานเข้าเสริม | ||
+ | |- | ||
+ | |[[ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย|ห้วยทราย]]<br>อำเภอชะอำ<br>จังหวัดเพชรบุรี||วันที่ ๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๒๖||ศึกษาการพัฒนาด้านป่าไม้ การให้ประชาชนอยู่ร่วมกับป่า เพื่อมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาป่าไม้ มุ่งฟื้นฟูสภาพป่าที่เสื่อมโทรม และสร้างแนวป้องกันไฟป่าโดยใช้ระบบป่าเปียก ศึกษาหาวิธีการให้เกษตรกรเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สภาพป่า พร้อมกับมีรายได้จากป่าและปลูกพืชชนิดต่างๆ ควบคู่กันไป | ||
+ | |- | ||
+ | |} | ||
− | [[หมวดหมู่: | + | [[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]][[หมวดหมู่:โครงการ]][[หมวดหมู่:การพัฒนา]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:53, 29 กันยายน 2552
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เมื่อโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริขยายออกไปมากมายนับร้อยพันโครงการ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริให้ก่อตั้ง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพื่อเป็นศูนย์รวมการศึกษาค้นคว้า ทดลอง วิจัย เพื่อแสวงหาแนวทางและวิธีการพัฒนาด้านต่างๆ ที่เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและการประกอบอาชีพของราษฎรที่อาศัยอยู่ในแต่ละภูมิภาค ทรงเลือกพื้นที่จัดตั้งศูนย์ด้วยพระองค์เองเพื่อให้เป็นตัวแทนในแต่ละภูมิภาค โดยมีภารกิจหลัก คือ พัฒนาด้านเกษตรกรรม ฟื้นฟู และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและศึกษาค้นคว้าวิจัยทดลองพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริเป็นเสมือน “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” ให้ราษฎรที่อาศัยอยู่ในแต่ละท้องที่นั้นๆ ได้ศึกษาเรียนรู้ รวมถึงเป็น “ต้นแบบ” การบริหารที่เป็นการรวมศูนย์ นั่นก็คือ การนำเอาส่วนราชการที่เกี่ยวข้องหลากหลายหน่วยงานมารวมไว้ ณ ที่แห่งเดียว ในลักษณะระบบบริการ “เบ็ดเสร็จ” ที่จุดเดียว และร่วมกันดำเนินงานโดยไม่มีหน่วยงานใดเป็นเจ้าของ เพื่อให้เกษตรกรนำไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพที่เหมาะสม พัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น และอำนวยประโยชน์สูงสุดแก่ราษฎร
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาพระราชดำริ |
ก่อตั้งเมื่อ | ภารกิจหลักในปัจจุบัน |
เขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา |
วันที่ ๘ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๒๒ | เป็นศูนย์ตัวอย่างที่รวมการปรับปรุงและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและการพัฒนาด้านเกษตรกรรม อย่างสมบูรณ์แบบ อาทิ ปศุสัตว์ การจัดตั้งธนาคารโค - กระบือ การส่งเสริมด้านการประมง การพัฒนาด้านไม้ดอกไม้ผล และการจัดการด้านสหกรณ์ |
อ่าวคุ้งกระเบน อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี |
พุทธศักราช ๒๕๒๕ | ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิจัย และสาธิตการพัฒนาและอนุรักษ์สภาพแวดล้อมชายฝั่งทะเล การบำบัดน้ำเสียจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ การอนุรักษ์และรวบรวมพันธุ์ไม้ป่าชายเลน การวิจัยและทดสอบระบบการเกษตรผสมผสาน การส่งเสริมความรู้ในเรื่องการสหกรณ์ การอบรมด้านปศุสัตว์ เป็นต้น ศูนย์ศึกษาการพัฒนาแห่งนี้ได้รับความสนใจจากประชาชนทั่วไปเป็นอย่างมากจนพุทธศักราช ๒๕๔๕ ได้รับรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวประเภทองค์กรส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว |
พิกุลทอง อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส |
วันที่ ๖ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๕ | ศึกษา วิจัย และพัฒนาสภาพดินพรุให้สามารถใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร การพัฒนาอุตสาหกรรมครอบครัว พัฒนาด้านปาล์มน้ำมันและร่วมกับกรมวิชาการเกษตรทดลองการพัฒนายางพาราอย่างครบวงจร เช่น การพัฒนาดินอินทรีย์และดินที่เปรี้ยวจัดการใช้น้ำชะล้างกรดจากดิน การพัฒนาพื้นที่ป่าพรุการอนุรักษ์และบำรุงพันธุ์ไม้ในป่าพรุ การทดลองด้านประมงและเลี้ยงสัตว์ รวมถึงไม้ดอกไม้ประดับ |
ภูพาน อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร |
วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๒๕ | ครอบคลุมงานทุกด้านที่มีผลต่อการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เช่น การพัฒนาระบบชลประทาน การปลูกพืชเศรษฐกิจ การศึกษาระบบนิเวศของป่า การบำรุงดิน การพัฒนาด้านปศุสัตว์และการประมง |
ห้วยฮ่องไคร้ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ |
วันที่ ๑๑ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๕ | ศึกษา ทดลอง และวิจัย เพื่อหารูปแบบของการพัฒนาแหล่งน้ำและป่าไม้ที่เหมาะสมกับพื้นที่ภาคเหนือและเผยแพร่ให้ชาวบ้านได้นำไปปฏิบัติ ให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ซึ่งแนวคิดหลักของศูนย์คือ "ต้นทางคือป่าไม้ (พื้นที่ต้นน้ำลำธารของภาคเหนือให้สมบูรณ์ )ปลายทางคือประมง (ตามอ่างเก็บน้ำ) ระหว่างทางคือ เกษตรกรรม (มีการปลูกพืชไม้ผล การปลูกหญ้าแฝก การเกษตรแบบประณีต และการปศุสัตว์)" เพื่อเป็นต้นแบบในการพัฒนาลุ่มน้ำอื่นๆ ในภูมิภาค โดยใช้ระบบชลประทานเข้าเสริม
|
ห้วยทราย อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี |
วันที่ ๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๒๖ | ศึกษาการพัฒนาด้านป่าไม้ การให้ประชาชนอยู่ร่วมกับป่า เพื่อมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาป่าไม้ มุ่งฟื้นฟูสภาพป่าที่เสื่อมโทรม และสร้างแนวป้องกันไฟป่าโดยใช้ระบบป่าเปียก ศึกษาหาวิธีการให้เกษตรกรเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สภาพป่า พร้อมกับมีรายได้จากป่าและปลูกพืชชนิดต่างๆ ควบคู่กันไป |
หน้าในหมวดหมู่ "ศูนย์ศึกษาการพัฒนา"
7 หน้าต่อไปนี้อยู่ในหมวดหมู่นี้ จากทั้งหมด 7 หน้า