ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศ-เศรษฐกิจพอเพียง-ทางเลือกในการพัฒนา"

 
(ไม่แสดง 16 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
 +
<div id="bg_g2t">&nbsp;</div>
 +
<div id="bg_g2">
 
__NOTOC__
 
__NOTOC__
 
<center><h1>"เศรษฐกิจพอเพียง: ทางเลือกในการพัฒนา"</h1></center>
 
<center><h1>"เศรษฐกิจพอเพียง: ทางเลือกในการพัฒนา"</h1></center>
แถว 16: แถว 18:
 
ในช่วงปี 2539 ประเทศไทยประสบปัญหาการส่งออกชะลอตัว ส่งผลให้มีการประกาศลอยตัวค่าเงินบาทในเวลาต่อมา จนเกิดสภาพฟองสบู่แตก และกลายเป็นวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงปี 2540 ในระหว่างนั้นค่าเงินบาทตกลงถึงร้อยละ 40 ทำให้ประเทศไทยต้องแบกรับหนี้สาธารณะที่เพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณถึงประมาณ 3.8 ล้านล้านบาท จากการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศในช่วงเวลาที่เศรษฐกิจขยายตัว จากภาระหนี้สินจำนวนมหาศาลนี้เอง ทำให้ไทยต้องทำข้อตกลง กับกองทุนฟื้นฟูระหว่างประเทศหรือไอเอ็มเอฟเข้ามาปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจใหม่ ซึ่งหมายความรวมถึงการถูกจำกัดอิสรภาพในการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจและการเงินของประเทศหลายประการ  
 
ในช่วงปี 2539 ประเทศไทยประสบปัญหาการส่งออกชะลอตัว ส่งผลให้มีการประกาศลอยตัวค่าเงินบาทในเวลาต่อมา จนเกิดสภาพฟองสบู่แตก และกลายเป็นวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงปี 2540 ในระหว่างนั้นค่าเงินบาทตกลงถึงร้อยละ 40 ทำให้ประเทศไทยต้องแบกรับหนี้สาธารณะที่เพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณถึงประมาณ 3.8 ล้านล้านบาท จากการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศในช่วงเวลาที่เศรษฐกิจขยายตัว จากภาระหนี้สินจำนวนมหาศาลนี้เอง ทำให้ไทยต้องทำข้อตกลง กับกองทุนฟื้นฟูระหว่างประเทศหรือไอเอ็มเอฟเข้ามาปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจใหม่ ซึ่งหมายความรวมถึงการถูกจำกัดอิสรภาพในการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจและการเงินของประเทศหลายประการ  
  
กล่าวได้ว่า การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลากว่าเกือบครึ่งศตวรรษนี้ ได้สร้างความเจริญทางวัตถุอย่างมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งถือเป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาประเทศ อย่างไรก็ตาม ภายใต้กระบวนการพัฒนาที่ขาดสมดุลและขาดการพิจารณาปัญหาอย่างเป็นองค์รวม ทำให้การพัฒนาในส่วนอื่นไม่สามารถก้าวทันความเจริญทางวัตถุ เช่น การศึกษา การพัฒนาระบบประชาธิปไตย การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นต้น อันเป็นที่มาของบทสรุปของการพัฒนาที่ว่า '''“เศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ยั่งยืน”'''
+
กล่าวได้ว่า การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลากว่าเกือบครึ่งศตวรรษนี้ ได้สร้างความเจริญทางวัตถุอย่างมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งถือเป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาประเทศ อย่างไรก็ตาม ภายใต้กระบวนการพัฒนาที่ขาดสมดุลและขาดการพิจารณาปัญหาอย่างเป็นองค์รวม ทำให้การพัฒนาในส่วนอื่นไม่สามารถก้าวทันความเจริญทางวัตถุ เช่น การศึกษา การพัฒนาระบบประชาธิปไตย การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นต้น อันเป็นที่มาของบทสรุปของการพัฒนาที่ว่า '''เศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ยั่งยืน'''
 
</div>
 
</div>
  
แถว 25: แถว 27:
 
</div>
 
</div>
  
<div class="kgreen">“…การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้อง
+
<div class="kgreen">“การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยเสริมความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจนั้นสูงขึ้นโดยลำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะสร้างความเจริญยกเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและประชาชน โดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่าง ๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวในที่สุด”</div>
ตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยเสริมความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจนั้นสูงขึ้นโดยลำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะสร้างความเจริญยกเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและประชาชน โดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่าง ๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวในที่สุด…”</div>
 
  
 
<div class="kindent">เมื่อประเทศไทยเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจครั้งสำคัญในช่วงปี 2539-2541 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานกำลังใจและพระราชดำริเกี่ยวกับ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาในปี 2540 และ 2541 โดยทรงขยายความคำว่า “พอมีพอกิน” ว่ามีความหมายที่กว้างกว่า “การพึ่งตนเอง” (self-sufficiency) ดังนี้</div>
 
<div class="kindent">เมื่อประเทศไทยเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจครั้งสำคัญในช่วงปี 2539-2541 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานกำลังใจและพระราชดำริเกี่ยวกับ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาในปี 2540 และ 2541 โดยทรงขยายความคำว่า “พอมีพอกิน” ว่ามีความหมายที่กว้างกว่า “การพึ่งตนเอง” (self-sufficiency) ดังนี้</div>
  
<div class="kgreen">“…ความพอเพียงนี้ไม่ได้หมายความว่า ทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัว จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอำเภอจะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอย่างที่ผลิตได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้ แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไร ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก อย่างนี้ท่านนักเศรษฐกิจต่าง ๆ ก็มาบอกว่าล้าสมัยจริง อาจจะล้าสมัย คนอื่นเขาต้องมีการเศรษฐกิจ ที่ต้องมีการแลกเปลี่ยน เรียกว่าเศรษฐกิจการค้า ไม่ใช่เศรษฐกิจความพอเพียงเลยรู้สึกว่าไม่หรูหรา แต่เมืองไทยเป็นประเทศที่มีบุญอยู่ว่า ผลิตให้พอเพียงได้…”</div>
+
<div class="kgreen">“ความพอเพียงนี้ไม่ได้หมายความว่า ทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัว จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอำเภอจะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอย่างที่ผลิตได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้ แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไร ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก อย่างนี้ท่านนักเศรษฐกิจต่าง ๆ ก็มาบอกว่าล้าสมัยจริง อาจจะล้าสมัย คนอื่นเขาต้องมีการเศรษฐกิจ ที่ต้องมีการแลกเปลี่ยน เรียกว่าเศรษฐกิจการค้า ไม่ใช่เศรษฐกิจความพอเพียงเลยรู้สึกว่าไม่หรูหรา แต่เมืองไทยเป็นประเทศที่มีบุญอยู่ว่า ผลิตให้พอเพียงได้”</div>
 
(พระราชดำรัส เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2540)
 
(พระราชดำรัส เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2540)
  
แถว 49: แถว 50:
 
<div class="kindent">หากนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาพิจารณาเพื่อวิเคราะห์ถึงสภาพสาเหตุของปัญหาที่ก่อให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงที่ผ่านมาจะพบว่า กระบวนการพัฒนาดังกล่าวได้ละเลยหลักการสำคัญขั้นพื้นฐาน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งไม่ได้มีความหมายเพียงแค่ “ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง” เท่านั้น แต่ยังหมายความรวมไปถึง “ความพอเพียง พอประมาณ และมีเหตุผล” ไม่โลภ ไม่ฟุ้งเฟ้อ ยึดหลัก “ทางสายกลาง” เพราะการลงทุนที่เกินความพอดี ในขณะที่คนในสังคมจำนวนมากยังไม่สามารถยืนอยู่บนขาของตัวเองได้อย่างมั่นคงนั้น ได้ส่งผลให้ชุมชน สังคม และประเทศชาติขาด “ภูมิคุ้มกัน” ในการป้องกันตนเอง ดังนั้นเมื่อมีวิกฤตจากภายนอกเข้ามากระทบ ก็จะส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนในทุกระดับชั้น ดังพระราชดำรัสที่ว่า</div>
 
<div class="kindent">หากนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาพิจารณาเพื่อวิเคราะห์ถึงสภาพสาเหตุของปัญหาที่ก่อให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงที่ผ่านมาจะพบว่า กระบวนการพัฒนาดังกล่าวได้ละเลยหลักการสำคัญขั้นพื้นฐาน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งไม่ได้มีความหมายเพียงแค่ “ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง” เท่านั้น แต่ยังหมายความรวมไปถึง “ความพอเพียง พอประมาณ และมีเหตุผล” ไม่โลภ ไม่ฟุ้งเฟ้อ ยึดหลัก “ทางสายกลาง” เพราะการลงทุนที่เกินความพอดี ในขณะที่คนในสังคมจำนวนมากยังไม่สามารถยืนอยู่บนขาของตัวเองได้อย่างมั่นคงนั้น ได้ส่งผลให้ชุมชน สังคม และประเทศชาติขาด “ภูมิคุ้มกัน” ในการป้องกันตนเอง ดังนั้นเมื่อมีวิกฤตจากภายนอกเข้ามากระทบ ก็จะส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนในทุกระดับชั้น ดังพระราชดำรัสที่ว่า</div>
  
<div class="kgreen">“…การจะเป็นเสือนั้นไม่สำคัญ สำคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนั้นหมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตนเอง…”</div>
+
<div class="kgreen">“การจะเป็นเสือนั้นไม่สำคัญ สำคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนั้นหมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตนเอง”</div>
  
 
<div class="kindent">การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นการพัฒนาตนเองให้อยู่ในระดับที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ และพัฒนาความสามารถนี้ไปสู่ระดับครัวเรือน ไปจนถึงชุมชน สังคมและประเทศชาติต่อไป ในการพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเน้นการพัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามลำดับขั้นตอน ซึ่งจะต้องสร้างพื้นฐานที่ดีให้กับประชาชนให้มีความพออยู่พอกิน และพึ่งพาตนเองได้ก่อน เพื่อเป็นการสนองพระราชดำริในการพัฒนาประเทศ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จึงได้น้อมนำหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นหลักในการพัฒนาและบริหารประเทศ โดยกำหนดไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) โดยให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่สมดุลทั้งด้านคน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งยึดหลักสายกลาง เพื่อให้ประเทศรอดพ้นจากวิกฤต สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและนำไปสู่การพัฒนาที่สมดุลมีคุณภาพและยั่งยืน
 
<div class="kindent">การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นการพัฒนาตนเองให้อยู่ในระดับที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ และพัฒนาความสามารถนี้ไปสู่ระดับครัวเรือน ไปจนถึงชุมชน สังคมและประเทศชาติต่อไป ในการพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเน้นการพัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามลำดับขั้นตอน ซึ่งจะต้องสร้างพื้นฐานที่ดีให้กับประชาชนให้มีความพออยู่พอกิน และพึ่งพาตนเองได้ก่อน เพื่อเป็นการสนองพระราชดำริในการพัฒนาประเทศ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จึงได้น้อมนำหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นหลักในการพัฒนาและบริหารประเทศ โดยกำหนดไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) โดยให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่สมดุลทั้งด้านคน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งยึดหลักสายกลาง เพื่อให้ประเทศรอดพ้นจากวิกฤต สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและนำไปสู่การพัฒนาที่สมดุลมีคุณภาพและยั่งยืน
 
</div>
 
</div>
 
  
 
===เศรษฐกิจพอเพียง : การประยุกต์ใช้===
 
===เศรษฐกิจพอเพียง : การประยุกต์ใช้===
แถว 66: แถว 66:
 
<u>ในระดับประเทศ</u> จะต้องสร้างกระบวนการพัฒนาที่เป็นองค์รวม เพื่อความสมดุลโดยจะต้องพิจารณาในส่วนของทุนทางสังคม ทุนทางเศรษฐกิจ และทุนทางทรัพยากร ในการส่งเสริมการค้า การผลิตจะต้องมีการพิจารณาศักยภาพภายในประเทศว่า ควรจะต้องส่งเสริมการผลิตสินค้าชนิดใด โดยจะต้องผลิตให้ได้พอเพียงกับความต้องการภายในประเทศเสียก่อน แล้วค่อยส่งไปขายต่างประเทศ ในการบริหารจัดการควรให้เกิดความเสี่ยงต่ำ คือไม่ลงทุนจนเกินตัว เพราะจะส่งผลให้เกิดการก่อหนี้จนเกินขีดความสามารถในการจัดการ จะต้องมีการวางแผนอย่างรอบคอบ มุ่งพัฒนาทุนทางสังคม เช่น ระบบการศึกษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการสร้างนวัตกรรม และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับประเทศ โดยคำนึงถึงความประหยัดและเรียบง่าย ทั้งนี้เพื่อลดการพึ่งพาทางเศรษฐกิจและนำเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศ ดังพระบรมราโชวาทตอนหนึ่งว่า
 
<u>ในระดับประเทศ</u> จะต้องสร้างกระบวนการพัฒนาที่เป็นองค์รวม เพื่อความสมดุลโดยจะต้องพิจารณาในส่วนของทุนทางสังคม ทุนทางเศรษฐกิจ และทุนทางทรัพยากร ในการส่งเสริมการค้า การผลิตจะต้องมีการพิจารณาศักยภาพภายในประเทศว่า ควรจะต้องส่งเสริมการผลิตสินค้าชนิดใด โดยจะต้องผลิตให้ได้พอเพียงกับความต้องการภายในประเทศเสียก่อน แล้วค่อยส่งไปขายต่างประเทศ ในการบริหารจัดการควรให้เกิดความเสี่ยงต่ำ คือไม่ลงทุนจนเกินตัว เพราะจะส่งผลให้เกิดการก่อหนี้จนเกินขีดความสามารถในการจัดการ จะต้องมีการวางแผนอย่างรอบคอบ มุ่งพัฒนาทุนทางสังคม เช่น ระบบการศึกษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการสร้างนวัตกรรม และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับประเทศ โดยคำนึงถึงความประหยัดและเรียบง่าย ทั้งนี้เพื่อลดการพึ่งพาทางเศรษฐกิจและนำเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศ ดังพระบรมราโชวาทตอนหนึ่งว่า
  
<div class="kgreen">“…ในการสร้างสรรค์ต่าง ๆ เพื่อพัฒนาสภาพบ้านเมืองและฐานะความเป็นอยู่ของประชาชนต่อไป ควรหัดเป็นคนช่างสังเกตในการปฏิบัติงานของตนเอง นอกจากเทคโนโลยีที่ใหญ่โตระดับ
+
<div class="kgreen">“ในการสร้างสรรค์ต่าง ๆ เพื่อพัฒนาสภาพบ้านเมืองและฐานะความเป็นอยู่ของประชาชนต่อไป ควรหัดเป็นคนช่างสังเกตในการปฏิบัติงานของตนเอง นอกจากเทคโนโลยีที่ใหญ่โตระดับสูงสำหรับใช้ในงานใหญ่ ๆ ที่ต้องการผลมาก แต่ละคนควรจะคำนึงและคิดค้นเทคโนโลยีอย่างง่าย ๆ ควบคู่กันไป เพื่อช่วยให้กิจการที่ใช้ทุนรอนน้อยมีโอกาสนำใช้ได้สะดวกและได้ผลด้วย”</div>
สูงสำหรับใช้ในงานใหญ่ ๆ ที่ต้องการผลมาก แต่ละคนควรจะคำนึงและคิดค้นเทคโนโลยีอย่างง่าย ๆ ควบคู่กันไป เพื่อช่วยให้กิจการที่ใช้ทุนรอนน้อยมีโอกาสนำใช้ได้สะดวกและได้ผลด้วย…”</div>
 
 
</div>
 
</div>
 
  
 
===ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ===
 
===ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ===
แถว 80: แถว 78:
 
เปรียบของคนจำนวนหนึ่ง ซึ่งมีพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า
 
เปรียบของคนจำนวนหนึ่ง ซึ่งมีพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า
  
<div class="kgreen">“…เป็นภัยที่มาจากจิตใจคน ซึ่งแก้ได้เหมือนกัน แต่ยากกว่าภัยธรรมชาติ…”</div>
+
<div class="kgreen">“เป็นภัยที่มาจากจิตใจคน ซึ่งแก้ได้เหมือนกัน แต่ยากกว่าภัยธรรมชาติ”</div>
  
 
แต่กระแสพระราชดำรัสดังกล่าวก็ยังมิได้รับการสนองตอบด้วยดีนัก จนกระทั่งเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจในปี พ.ศ.2540 ที่ทำให้นักเศรษฐศาสตร์โดยทั่วไปเริ่มตระหนักถึงความสำคัญต่อพระราชดำรัสที่ผ่านมา แม้กระนั้นก็ยังมีความสับสนและไม่เข้าใจ เนื่องจากคุ้นเคยกับความคิดซึ่งใช้ในตะวันตกที่อธิบายคำว่า “Self-Sufficient Economy” ในความหมายเช่นเดียวกับการปิดประเทศไม่ค้าขายกับใครแต่อย่างใด ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเสนอแนะ ให้เพิ่มสัดส่วนเศรษฐกิจพอเพียง จากที่ทรงเห็นว่าจากเดิมไม่ให้ความสำคัญในเรื่องนี้เลย เนื่องจากประเทศเน้นการผลิตเพื่อการค้าทั้งหมด แล้วปรับเปลี่ยนมาเป็นการผลิต เพื่อการสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจให้แก่ตนเองส่วนหนึ่งอันเป็นความหมายที่สำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง ดังพระราชดำรัสเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2540 ความตอนหนึ่งว่า
 
แต่กระแสพระราชดำรัสดังกล่าวก็ยังมิได้รับการสนองตอบด้วยดีนัก จนกระทั่งเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจในปี พ.ศ.2540 ที่ทำให้นักเศรษฐศาสตร์โดยทั่วไปเริ่มตระหนักถึงความสำคัญต่อพระราชดำรัสที่ผ่านมา แม้กระนั้นก็ยังมีความสับสนและไม่เข้าใจ เนื่องจากคุ้นเคยกับความคิดซึ่งใช้ในตะวันตกที่อธิบายคำว่า “Self-Sufficient Economy” ในความหมายเช่นเดียวกับการปิดประเทศไม่ค้าขายกับใครแต่อย่างใด ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเสนอแนะ ให้เพิ่มสัดส่วนเศรษฐกิจพอเพียง จากที่ทรงเห็นว่าจากเดิมไม่ให้ความสำคัญในเรื่องนี้เลย เนื่องจากประเทศเน้นการผลิตเพื่อการค้าทั้งหมด แล้วปรับเปลี่ยนมาเป็นการผลิต เพื่อการสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจให้แก่ตนเองส่วนหนึ่งอันเป็นความหมายที่สำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง ดังพระราชดำรัสเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2540 ความตอนหนึ่งว่า
  
<div class="kgreen">“…ถ้าสามารถที่จะเปลี่ยนไป ทำให้กลับเป็นเศรษฐกิจแบบพอเพียง ไม่ต้องทั้งหมดแม้แค่ครึ่งก็ไม่ต้อง อาจจะสักเศษหนึ่งส่วนสี่ก็จะสามารถอยู่ได้ การแก้ไขอาจจะต้องใช้เวลา ไม่ใช่ง่าย ๆ โดยมากคนก็ใจร้อนเพราะเดือดร้อน แต่ถ้าทำตั้งแต่เดี๋ยวนี้ก็สามารถที่จะแก้ไขได้…”</div>
+
<div class="kgreen">“ถ้าสามารถที่จะเปลี่ยนไป ทำให้กลับเป็นเศรษฐกิจแบบพอเพียง ไม่ต้องทั้งหมดแม้แค่ครึ่งก็ไม่ต้อง อาจจะสักเศษหนึ่งส่วนสี่ก็จะสามารถอยู่ได้ การแก้ไขอาจจะต้องใช้เวลา ไม่ใช่ง่าย ๆ โดยมากคนก็ใจร้อนเพราะเดือดร้อน แต่ถ้าทำตั้งแต่เดี๋ยวนี้ก็สามารถที่จะแก้ไขได้”</div>
  
ถึงแม้จะเริ่มมีความเข้าใจเศรษฐกิจพอเพียงตามความหมายของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แต่บางส่วนก็ไปยึดพื้นที่การเกษตร แทนที่จะยึดสัดส่วนของกิจกรรมระหว่างเศรษฐกิจค้าขายและเศรษฐกิจ
+
ถึงแม้จะเริ่มมีความเข้าใจเศรษฐกิจพอเพียงตามความหมายของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แต่บางส่วนก็ไปยึดพื้นที่การเกษตร แทนที่จะยึดสัดส่วนของกิจกรรมระหว่างเศรษฐกิจค้าขายและเศรษฐกิจพอเพียง เป็นเหตุให้ทรงขยายความเข้าใจใหม่ในปี พ.ศ.2541 โดยอธิบายในสองความหมายคือ ความพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมากและต้องไม่เบียดเบียนผู้อื่น หรือความหมายที่นักเศรษฐศาสตร์โดยทั่วไปอาจจะเข้าใจได้ง่ายขึ้นคือ ความพอประมาณและความมีเหตุผล
พอเพียง เป็นเหตุให้ทรงขยายความเข้าใจใหม่ในปี พ.ศ.2541 โดยอธิบายในสองความหมายคือ ความพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมากและต้องไม่เบียดเบียนผู้อื่น หรือความหมายที่นักเศรษฐศาสตร์โดยทั่ว
 
ไปอาจจะเข้าใจได้ง่ายขึ้นคือ ความพอประมาณและความมีเหตุผล
 
  
 
ทฤษฎีใหม่จึงเป็นแนวทางหนึ่งของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาหลักของเกษตรกรในอดีตจนถึงปัจจุบันที่สำคัญประการหนึ่ง คือ การขาดแคลนน้ำเพื่อเกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่เกษตรที่อาศัยน้ำฝน ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศที่อยู่ในเขตที่มีฝนค่อนข้างน้อยและส่วนมากเป็นนาข้าวและพืชไร่ เกษตรกรยังคงทำการเพาะปลูกได้ปีละครั้งในช่วงฤดูฝนเท่านั้น และมีความเสี่ยงกับความเสียหายอันเนื่องมาจากความแปรปรวนของดินฟ้าอากาศ และฝนทิ้งช่วง แม้ว่าจะมีการขุดบ่อหรือ สระเก็บน้ำไว้ใช้บ้างแต่ก็มีขนาดไม่แน่นอน หรือมีปัจจัยอื่น ๆ ที่เป็นปัญหาให้มีน้ำใช้ไม่เพียงพอ รวมทั้งระบบการปลูกพืชไม่มีหลักเกณฑ์ใด ๆ และส่วนใหญ่ปลูกพืชชนิดเดียว
 
ทฤษฎีใหม่จึงเป็นแนวทางหนึ่งของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาหลักของเกษตรกรในอดีตจนถึงปัจจุบันที่สำคัญประการหนึ่ง คือ การขาดแคลนน้ำเพื่อเกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่เกษตรที่อาศัยน้ำฝน ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศที่อยู่ในเขตที่มีฝนค่อนข้างน้อยและส่วนมากเป็นนาข้าวและพืชไร่ เกษตรกรยังคงทำการเพาะปลูกได้ปีละครั้งในช่วงฤดูฝนเท่านั้น และมีความเสี่ยงกับความเสียหายอันเนื่องมาจากความแปรปรวนของดินฟ้าอากาศ และฝนทิ้งช่วง แม้ว่าจะมีการขุดบ่อหรือ สระเก็บน้ำไว้ใช้บ้างแต่ก็มีขนาดไม่แน่นอน หรือมีปัจจัยอื่น ๆ ที่เป็นปัญหาให้มีน้ำใช้ไม่เพียงพอ รวมทั้งระบบการปลูกพืชไม่มีหลักเกณฑ์ใด ๆ และส่วนใหญ่ปลูกพืชชนิดเดียว
  
1. ทฤษฎีใหม่ : เศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเกษตรกร
+
1. [[ทฤษฎีใหม่]] : เศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเกษตรกร
การที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมเยียนราษฎรในทุกภูมิภาคของประเทศ ทรงพบว่า ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศไทยที่อยู่ในภาคเกษตรกรรม ผลิตอาหารให้แก่
+
การที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมเยียนราษฎรในทุกภูมิภาคของประเทศ ทรงพบว่า ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศไทยที่อยู่ในภาคเกษตรกรรม ผลิตอาหารให้แก่ประเทศและโลกโดยส่วนรวม ยังคงมีฐานะยากจนแร้นแค้นเพราะประสบปัญหาเกี่ยวกับการทำมาหากิน อันเนื่องมาจากที่ดินทำกินขาดความสมบูรณ์หรือขาดแคลนน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดำริเกี่ยวกับ “ทฤษฎีใหม่” เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2537 เกี่ยวกับการจัดการที่ดินและแหล่งน้ำซึ่งเป็นระบบเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเกษตรกรเพื่อให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเอง มีความมั่นคงในเรื่องการดำรงชีพ และสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครอบครัวและชุมชนตามสมควรแก่อัตภาพ ทั้งนี้ หลักการของทฤษฎีใหม่สามารถแบ่งได้เป็น 3 ขั้น คือ
ประเทศและโลกโดยส่วนรวม ยังคงมีฐานะยากจนแร้นแค้นเพราะประสบปัญหาเกี่ยวกับการทำมาหากิน อันเนื่องมาจากที่ดินทำกินขาดความสมบูรณ์หรือขาดแคลนน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน
 
แนวพระราชดำริเกี่ยวกับ “ทฤษฎีใหม่” เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2537 เกี่ยวกับการจัดการที่ดินและแหล่งน้ำซึ่งเป็นระบบเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเกษตรกรเพื่อให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเอง มีความมั่นคงในเรื่อง
 
การดำรงชีพ และสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครอบครัวและชุมชนตามสมควรแก่อัตภาพ ทั้งนี้ หลักการของทฤษฎีใหม่สามารถแบ่งได้เป็น 3 ขั้น คือ
 
  
 
<u>ขั้นที่ 1 “พึ่งตนเอง”</u>
 
<u>ขั้นที่ 1 “พึ่งตนเอง”</u>
แถว 112: แถว 105:
  
 
<u>ขั้นที่ 2 “รวมกลุ่ม”</u>
 
<u>ขั้นที่ 2 “รวมกลุ่ม”</u>
เมื่อมีความมั่นคงเข้มแข็งในระดับครัวเรือนแล้ว เกษตรกรในชุมชนต้องมีการรวมกลุ่มเพื่อการผลิตและการตลาด เพื่อจะได้สามารถพัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจให้มีความหลากหลาย ครอบคลุมทั้งเกษตร
+
เมื่อมีความมั่นคงเข้มแข็งในระดับครัวเรือนแล้ว เกษตรกรในชุมชนต้องมีการรวมกลุ่มเพื่อการผลิตและการตลาด เพื่อจะได้สามารถพัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจให้มีความหลากหลาย ครอบคลุมทั้งเกษตรแบบผสมผสาน หัตถกรรม การแปรรูปอาหาร การทำธุรกิจ ค้าขาย การท่องเที่ยว เป็นต้น เมื่อชุมชนมีความเข้มแข็งพอสมควรก็จะสามารถพัฒนาระบบสวัสดิการ การศึกษา สาธารณสุขเพื่อชุมชนเติบโตอย่างมีเสถียรภาพต่อไป
แบบผสมผสาน หัตถกรรม การแปรรูปอาหาร การทำธุรกิจ ค้าขาย การท่องเที่ยว เป็นต้น เมื่อชุมชนมีความเข้มแข็งพอสมควรก็จะสามารถพัฒนาระบบสวัสดิการ การศึกษา สาธารณสุขเพื่อชุมชนเติบโตอย่าง
 
มีเสถียรภาพต่อไป
 
  
 
<u>ขั้นที่ 3 “สู่ภายนอก”</u>
 
<u>ขั้นที่ 3 “สู่ภายนอก”</u>
เมื่อชุมชนมีความเข้มแข็งแล้ว จึงเข้าสู่ขั้นที่ 3 คือ การสร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพกับภายนอกและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้หลากหลาย โดยประสานความร่วมมือกับภาคธุรกิจ ภาคองค์กรพัฒนาเอกชน
+
เมื่อชุมชนมีความเข้มแข็งแล้ว จึงเข้าสู่ขั้นที่ 3 คือ การสร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพกับภายนอกและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้หลากหลาย โดยประสานความร่วมมือกับภาคธุรกิจ ภาคองค์กรพัฒนาเอกชนและภาคราชการในด้านเงินทุน การตลาด การผลิต การจัดการและข่าวสารข้อมูล ทั้งนี้สมาชิกในชุมชนจะต้องมีความสามัคคี สร้างความมั่นคงให้เกิดขึ้นในชุมชน รวมทั้งการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ของชุมชนบนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่นและรักษาไว้ซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามให้คงอยู่ตลอดไป</div>
และภาคราชการในด้านเงินทุน การตลาด การผลิต การจัดการและข่าวสารข้อมูล ทั้งนี้สมาชิกในชุมชนจะต้องมีความสามัคคี สร้างความมั่นคงให้เกิดขึ้นในชุมชน รวมทั้งการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
 
สิ่งแวดล้อม พัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ของชุมชนบนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่นและรักษาไว้ซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามให้คงอยู่ตลอดไป</div>
 
  
 
<div class="kindent">
 
<div class="kindent">
แถว 162: แถว 151:
  
  
===เศรษฐกิจพอเพียงกับศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ===
+
[[ศ-เศรษฐกิจพอเพียง-ทางเลือกในการพัฒนา(2)|ต่อหน้า 2 >>]]
<div class="kindent">จากหลักการสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียงที่มุ่งให้ความสำคัญกับการ “พึ่งพาตนเอง” ในระดับครอบครัวและในระดับชุมชนเป็นลำดับแรกก่อน เมื่อเกิดความมั่นคง และเข้มแข็งแล้วจึงขยายไปสู่ภายนอก โดยเน้นรูปแบบการพัฒนาที่เหมาะสมกับปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ตลอดจนสภาพทางภูมิศาสตร์ของชุมชนนั้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน อันเป็นรากฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศโดยรวม ดังจะเห็นได้ว่ารูปแบบการดำเนินงานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริต่าง ๆ นั้น ล้วนสะท้อนให้เห็นถึงหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างชัดเจน กล่าวคือการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ยึดถือหลักสำคัญในการพัฒนาคือ “การพัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ตามลำดับความจำเป็น” “เรียบง่ายและประหยัด” เป็นไปตาม “ภูมิศาสตร์” และ “ภูมิสังคม” หรือ ลักษณะทางภูมิศาสตร์และสังคมวัฒนธรรม นอกจากนั้นยังต้องคำนึงถึง “การส่งเสริมความรู้และเทคนิคทางวิชาการที่เหมาะสม” ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างกรณีของ “[[ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ]]” ที่ได้น้อมนำเอาหลักการดังกล่าวมาใช้ในการพัฒนาพื้นที่ต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
 
  
เนื่องด้วยทรงตระหนักดีว่า ราษฎรในชนบทส่วนใหญ่ขาดความรู้ ขาดเครื่องมือหรือเทคโนโลยีในเรื่องการทำมาหากิน ประกอบกับภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศล้วนมาจากปัญหาเฉพาะที่แตกต่างกันไปตามสภาพทางภูมิศาสตร์ ดังนั้น การสร้าง “ตัวอย่างความสำเร็จ” ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของปัจจัยทางกายภาพของแต่ละพื้นที่ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในอันที่จะส่งเสริมให้ราษฎรศึกษา และนำไปใช้เป็นแบบอย่างในการพัฒนาการเกษตรของตนเอง โดยการดำเนินงานของศูนย์ฯ เป็นการศึกษาสภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่ ด้วยการจำลองสภาพโดยรวมทางกายภาพของภูมิภาค ดังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำรัสเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งศูนย์ฯ ว่า
+
{{ดูเพิ่มเติม| [[ทฤษฎีใหม่]] / [[ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน]]อันเนื่องมาจากพระราชดำริ / [[ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง]]อันเนื่องมาจากพระราชดำริ / [[ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน]]อันเนื่องมาจากพระราชดำริ / [[ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน]]อันเนื่องมาจากพระราชดำริ / [[ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้]]อันเนื่องมาจากพระราชดำริ / [[ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย]]อันเนื่องมาจากพระราชดำริ}}
</div>
 
  
<div class="kgreen">“…วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาก็คือ การพัฒนาที่ทำกินของราษฎรให้มีความอุดมสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยการพัฒนาที่ดิน พัฒนาแหล่งน้ำ ตลอดจนฟื้นฟูป่าและ ใช้หลักวิชาการเกษตรในการวางแผนการเพาะปลูก และเลี้ยงสัตว์ โดยใช้เงินจากการบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธาเป็นทุนในการพัฒนา ซึ่งศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ จะเป็นฟาร์มตัวอย่างที่เกษตรกรทั่วไปและเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนา สามารถเยี่ยมชม ชมการสาธิตเกี่ยวกับการเกษตรกรรมเพื่อเป็นการศึกษาหาความรู้ นอกจากนั้นยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการพัฒนาพื้นที่รอบ ๆ บริเวณโครงการให้มีความเจริญขึ้น เมื่อราษฎรเริ่มมีความเป็นอยู่ดีขึ้น ก็อาจพิจารณาจัดตั้งโรงสีข้าวสำหรับหมู่บ้านแต่ละกลุ่ม ตลอดจนจัดตั้งธนาคารข้าวของแต่ละหมู่บ้านเพื่อฝึกให้รู้จักพึ่งตนเองได้ในที่สุด…”</div>
 
 
<div class="kindent">โดยศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ แห่งแรกคือ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลเขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2522 จนถึงปัจจุบันมีศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ ทั้งสิ้น 6 แห่ง คือ
 
 
1. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
 
 
2. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
 
 
3. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
 
 
4. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
 
 
5. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
 
 
6. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
 
</div>
 
 
 
*'''ลักษณะสำคัญของศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ'''
 
 
'''1. “ตัวอย่างความสำเร็จ”'''
 
<div class="kindent">“ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ นี้มีหลักอยู่ว่า ทำไปแล้วถ้าได้ผลดีก็จดเอาไว้กลายเป็นตำราซึ่งเป็นหลักของตำราทั้งหลายที่ต้องมาจากประสบการณ์ อันนี้เป็นประโยชน์ของ[[ศูนย์ศึกษาการพัฒนา]]ฯ อย่างหนึ่งที่ว่า ไม่ใช่สถานทดลอง แต่ว่าเป็นการทดลองแบบที่เรียกกันเอง หรือแบบไม่เป็นทางการ”
 
 
ในการจัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ จึงเป็นการดำเนินงานที่มุ่งศึกษา ทดลองหาแนวทางในการพัฒนาการเกษตรที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ด้วยวิธีการที่เรียบง่าย และแสวงหาเทคโนโลยีที่เหมาะสม และประหยัด สำหรับผลการทดลองที่ประสบความสำเร็จ ก็จะกลายเป็น “ตัวอย่างแห่งความสำเร็จ” ที่เกษตรกรและประชาชนสามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ ส่วนผลการทดลองที่ไม่ประสบผลสำเร็จก็จะเป็นประโยชน์ ในแง่ที่เป็นข้อพึงระวังสำหรับการนำไปใช้ในการปฏิบัติ หรือปรับเปลี่ยนไปสู่แนวทางอื่นที่เหมาะสมต่อไป ตามที่ได้มีพระราชดำรัสตอนหนึ่งว่า
 
 
<div class="kgreen">“…ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ นี้ ถ้าทำอะไรล้มเหลวไม่ถือว่าเป็นสิ่งต้องลงโทษ แต่ว่าเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่า ทำอย่างนั้นไม่เกิดผลหรือจะเป็นผลเสียหายก็เป็นได้ เมื่อเห็นอย่างนั้นแล้ว อาจจะทำต่อก็ได้ เป็นการแสดงว่าทำอย่างนี้ไม่ถูก ก็เป็นตำราเหมือนกัน ทำอะไรไม่ถูกให้รู้ว่าไม่ถูก…"</div>
 
</div>
 
 
 
'''2. “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต”'''
 
<div class="kindent">การดำเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ เป็นการจำลองเอาสภาพทางกายภาพ อันได้แก่ ภูมิศาสตร์ สภาพเศรษฐกิจ รวมไปถึงสังคมวัฒนธรรมของพื้นที่นั้น ๆ ทั้งนี้เพื่อศึกษาทำความเข้าใจจากสภาพความเป็นจริง เพื่อให้เกิดการพัฒนายกระดับทั้งในด้านคุณภาพชีวิตและสังคมของภูมิภาคนั้น ตลอดจนภูมิปัญญาพื้นบ้านต่าง ๆ ซึ่งการดำเนินงานของศูนย์มีความเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง เสมือนเป็นพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต
 
</div>
 
 
 
'''3. “ระบบบริการเบ็ดเสร็จที่จุดเดียว”'''
 
<div class="kindent">เพื่อเป็นการลดความซ้ำซ้อนและความยุ่งยากในการติดต่อกับหน่วยราชการ โดยให้ประชาชนสามารถรับบริการต่าง ๆ ทางการเกษตรของศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ ได้ในที่เดียว หรือที่เรียกว่า “One
 
Stop Service” เนื่องจากภายในศูนย์ฯ ประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่ที่ทำงานด้านการพัฒนาด้านต่าง ๆ เช่น เจ้าหน้าที่จากกรมชลประทาน กรมที่ดิน กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นต้น ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำรัสในเรื่องนี้ ความตอนหนึ่งว่า
 
 
<div class="kgreen">“…ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ เป็นศูนย์ศึกษาที่รวบรวมกำลังทั้งหมดของเจ้าหน้าที่ทุกกรมกอง ทั้งในด้านเกษตรหรือในด้านสังคม ทั้งในด้านการส่งเสริมการศึกษามาอยู่ด้วยกัน ก็หมายความว่า ประชาชนซึ่งจะต้องการสิ่งทั้งหลาย ก็สามารถจะมาดู ส่วนเจ้าหน้าที่จะได้รับความอนุเคราะห์แก่ประชาชนก็มาอยู่พร้อมในที่เดียวกัน ซึ่งเป็นสองด้าน ก็หมายความถึงว่า สำคัญปลายทางคือ ประชาชนจะได้รับประโยชน์…”</div>
 
</div>
 
 
 
'''4. “รูปแบบใหม่ของการบริหารจัดการ”'''
 
<div class="kindent">เนื่องจากโครงการพัฒนาพื้นที่ด้านการเกษตรมีความเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกันในหลายด้าน เช่น น้ำ ที่ดินทำกิน พันธุ์พืช ปศุสัตว์ การประมง ตลอดจนกระทั่งการตลาด ดังนั้น การดำเนินงานจึงต้องมีลักษณะเป็น “องค์รวม” ซึ่งการประสานในระบบราชการแบบเดิมไม่สามารถเอื้อให้เกิดการทำงานเชิงบูรณาการได้ ดังนั้น การดำเนินงานของศูนย์ฯ จึงเป็นการรวมเอาเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานต่าง ๆ ของ
 
ภาครัฐ รวมทั้งภาคเอกชน และองค์กรที่ไม่ใช่รัฐบาลมาทำงานร่วมกัน โดยมีสำนักงาน กปร. และสำนักเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนาเป็นผู้ประสานงาน ซึ่งถือได้ว่าเป็นรูปแบบของการทำงานตามแนวราบ ที่ยึดประสิทธิภาพของการทำงานเป็นที่ตั้งอย่างแท้จริง
 
</div>
 
 
 
===ตัวอย่างความสำเร็จของโครงการอื่นๆ และเกษตรกรที่นำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้===
 
 
'''1. โครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณวัดมงคลชัยพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี'''
 
<div class="kindent">จากแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ให้ บ้าน วัด และราชการ (โรงเรียน) ร่วมกันดำเนินงานพัฒนาพื้นที่บริเวณวัดมงคลชัยพัฒนา ตำบลห้วยบง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี มีพื้นที่ดำเนินการ 32-0-47 ไร่ ให้เป็นสถานที่ต้นแบบของการพัฒนาในลักษณะผสมผสานและเกื้อกูลซึ่งกันและกัน อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน จึงมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ เพื่อพัฒนาพื้นที่ขนาดเล็กที่
 
มีสภาพแห้งแล้ง ให้เป็นศูนย์กลางในการบริการด้านการเกษตรกรรมและอื่นๆ รวมทั้งเป็นการสาธิตให้ราษฎรสามารถนำรูปแบบการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการประกอบ
 
อาชีพ และสามารถพึ่งตนเองได้ บนรากฐานของความประหยัด และความสามัคคีในท้องถิ่น ในการดำเนินงานพัฒนาพื้นที่บริเวณวัดมงคลชัยพัฒนา แรกเริ่มได้จัดแบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 แปลง เพื่อศึกษาและสาธิต
 
การเกษตรให้แก่ราษฎรได้สามารถนำไปปฏิบัติใช้กับพื้นที่ของตนเองโดย
 
 
พื้นที่แปลงที่หนึ่ง เป็นแปลงสาธิตการเกษตรแบบผสมผสานจำนวน 16-2-23 ไร่ เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 โดยมุ่งถึงการปรับปรุงดินให้มีอินทรีย์วัตถุเพิ่มขึ้น จากนั้นศึกษาและสาธิตการปลูกพืชชนิดต่างๆ แปลงทดสอบการปลูกต้นไม้ต่างระดับในสภาพยกร่อง และขุดสระน้ำสำหรับเลี้ยงปลาพร้อมกับปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ตลอดจนเพื่ออนุรักษ์ดินและน้ำ เพื่อให้ผู้ที่สนใจเข้ามาศึกษา และนำผลการทดลองจากการปลูกพืชชนิดต่างๆ นำไปปฏิบัติกับพื้นที่ของตนเองต่อไป
 
 
พื้นที่แปลงที่สอง เป็นแปลงสาธิตทฤษฎีใหม่จำนวน 15-2-24 ไร่ ดำเนินการเกษตรกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดำริไว้ ซึ่งเป็นการบริหารจัดการที่ดิน และแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรให้แก่เกษตรกรในรูปแบบใหม่ เป็นแนวทางในการพัฒนาของเกษตรกรรายย่อยที่มีพื้นที่ที่ถือครองโดยเฉลี่ยประมาณ 10 – 15 ไร่ ที่มีสภาพแห้งแล้งขาดแคลนน้ำและธาตุอาหาร
 
ในดิน ให้มีสภาพที่สมบูรณ์ สามารถทำประโยชน์ได้สูงสุด เพื่อให้พออยู่พอกินไปตลอดทั้งปี โดยการแบ่ง
 
พื้นที่ตามทฤษฎี 30:30:30:10
 
 
<u>ส่วนที่ 1</u> เพื่อขุดสระเก็บกักน้ำไว้ใช้ในการเพาะปลูก โดยเฉลี่ยพื้นที่ประมาณ 3 ไร่ มีความลึกอย่างน้อย 4 เมตร จุน้ำประมาณ 18,000 ลูกบาศก์เมตร โดยการรับน้ำจากน้ำฝน และมีระบบท่อส่งน้ำมา
 
เติมจากแหล่งภายนอก คือ อ่างเก็บน้ำห้วยหินขาว ราษฎรก็จะสามารถมีน้ำไว้ใช้สำหรับการเพาะปลูกได้ตลอดปี รวมทั้งยังสามารถเลี้ยงปลา และปลูกพืชน้ำได้อีกด้วย
 
 
<u>ส่วนที่ 2</u> สำหรับการปลูกข้าว พื้นที่โดยเฉลี่ยประมาณ 5 ไร่ เพื่อไว้สำหรับบริโภคเอง หากเหลือก็นำไปขายได้ เมื่อพักจากการทำนาข้าวก็มาปลูกพืชหมุนเวียน ได้แก่ ถั่วเขียว ถั่วเหลือง เป็นการเพิ่ม
 
รายได้และเพื่อบำรุงดิน
 
 
<u>ส่วนที่ 3</u> สำหรับการปลูกพืชไร่ พืชสวนแบบผสมผสาน พื้นที่โดยเฉลี่ยประมาณ 5 ไร่ เพื่อให้มีรายได้ตลอดทั้งปี
 
 
<u>ส่วนที่ 4</u> สำหรับเป็นที่อยู่อาศัย สาธารณูปโภคต่างๆ และสำหรับปลูกพืชสวนครัว พื้นที่โดยเฉลี่ยประมาณ 2 ไร่
 
 
กรณีตัวอย่าง นายทองสุขและนางสว่าง พิมสาร เกษตรกรที่มีที่ดินอยู่ติดกับแปลงสาธิตทฤษฎีใหม่โครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณวัดมงคลชัยพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ได้กล่าวโดยสรุป ดังนี้
 
 
เริ่มแรกได้รับการสนับสนุนการก่อสร้างแหล่งน้ำและโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นจากภาคเอกชนสำหรับพื้นที่ทำการเกษตรมีจำนวน 19 ไร่ แบ่งออกเป็นนาข้าว 5 ไร่ จะปลูกข้าวในฤดูฝน ในฤดูแล้งจะปลูก
 
พืชผักแทน แปลงไม้ผล 6 ไร่ แปลงมะลิ 1.5 ไร่ สระน้ำ 1.5 ไร่ สำหรับใช้เพื่อการเพาะปลูกและเลี้ยงปลาไว้กิน พื้นที่ส่วนที่เหลือเป็นพื้นที่บ้าน ถนน ลานอเนกประสงค์ คูน้ำ และคันดิน ในส่วนของรายได้ในแต่ละปี
 
ช่วงก่อนที่จะมาทำการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่มีรายได้จากข้าวนาปีเพียงอย่างเดียว ไม่เกิน 30,000 บาทต่อปี แต่หลังจากที่ได้ทำการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่แล้วมีรายได้จากการขายผลผลิตหลายชนิด
 
เฉลี่ยแล้วประมาณ 300,000 บาทต่อปี ซึ่งทำให้สภาพความเป็นอยู่ดีขึ้นกว่าเก่ามาก ความเป็นอยู่ไม่ถึงกับร่ำรวย แต่ก็ไม่ได้ยากจนอดอยาก มีการดำเนินชีวิตแบบพอเพียง
 
</div>
 
 
 
'''2. โครงการขุดสระเก็บกักน้ำตามแนวทฤษฎีใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์'''
 
<div class="kindent">การนำทฤษฎีใหม่มาทดลองปฏิบัติที่อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2536 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงนำทฤษฎีใหม่ไปทดลองทำที่บ้านแดนสามัคคี หมู่ที่ 13 ตำบลคุ้มเก่า อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นแห่งแรกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภายใต้ชื่อโครงการว่า โครงการพัฒนาพื้นที่เกษตรน้ำฝนบ้านแดนสามัคคีอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในการดำเนินงานของโครงการเป็น
 
การจัดทำแปลงทดลองหรือแปลงสาธิตในการช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบปัญหาในการปลูกข้าวโดยปัญหาหลักที่พบคือ เมื่อปลูกข้าวแล้วมีแต่รวงข้าวไม่มีเมล็ดเพราะขาดแคลนน้ำ จึงได้มีการริเริ่มขุด
 
สระน้ำ โดยใช้เนื้อที่ 3 ไร่ ความจุ 12,000 ลูกบาศก์เมตร เพื่อใช้กักเก็บน้ำฝนแต่เพียงอย่างเดียว โดยไม่มีน้ำจากที่อื่นมาเพิ่มเติม สำรองไว้ใช้ทำการเกษตรสำหรับที่นาจำนวน 3 ไร่ 3 งาน และพืชไร่พืชสวน จำนวน
 
6 ไร่ ได้อย่างพอเพียง โดยในช่วงที่แล้งที่สุดจะมีน้ำเหลืออยู่ในสระ วัดจากก้นสระขึ้นมาประมาณ 1.50 – 1.75 เมตร หลังจากขุดสระเก็บน้ำเสร็จ จึงมีการดำเนินงานในขั้นต่อไปตามแนวทฤษฎีใหม่ (30:30:30:10)
 
โดยแบ่งพื้นที่ 13 ไร่ 3 งาน เป็น 4 ส่วน ดังนี้
 
 
ส่วนที่ 1 สระน้ำ ใช้พื้นที่ประมาณ 3 ไร่ ใช้เป็นแหล่งน้ำในการเกษตร อุปโภค และเลี้ยงปลา
 
 
ส่วนที่ 2 ที่นา ใช้พื้นที่ประมาณ 3 ไร่ ใช้ปลูกข้าวและพืชไร่หลังนา
 
 
ส่วนที่ 3 ทำเกษตรผสมผสาน ใช้พื้นที่ประมาณ 6 ไร่ ใช้ปลูกไม้ผล พืชไร่ และพืชผัก
 
 
ส่วนที่ 4 พื้นที่สำหรับที่อยู่อาศัย ถนน และสิ่งก่อสร้างต่างๆ ประมาณ 1 ไร่ 3 งาน
 
 
การดำเนินงานจะเป็นรูปแบบเกษตรผสมผสาน มีการปลูกพืชร่วมกัน เลี้ยงหมูร่วมกับการเลี้ยงปลา โดยเน้นการใช้ปัจจัยจากพื้นที่ ซึ่งจากผลการดำเนินงานพบว่า พระราชดำริเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่มีความ
 
เหมาะสมสำหรับพื้นที่ที่ขาดแคลนแหล่งน้ำในการเกษตร ช่วยให้พื้นที่ปลูกข้าวไม่ประสบปัญหาขาดน้ำตลอดฤดูการปลูกเพราะสามารถรับน้ำจากสระได้ ส่งผลให้ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้นจากเดิมประมาณ ร้อยละ 70
 
จึงชี้ให้เห็นว่าเกษตรกรสามารถปลูกข้าวในพื้นที่จำกัด แต่ได้ผลผลิตเพียงพอสำหรับบริโภคตลอดปี น้ำที่เหลือจากการปลูกข้าวก็สามารถนำไปใช้ในการปลูกพืชไร่หลังนา พืชไม้ผล และพืชผักสวนครัวได้ ทำให้
 
เกษตรกรมีอาหารไว้บริโภคตลอดทั้งปี และมีเหลือขายเป็นการเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวอีกด้วย
 
 
กรณีตัวอย่าง นายเตียน ไพยสาร อายุ 70 ปี และนายใย แลผดุง อายุ 56 ปี เกษตรกรซึ่งทำการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่จนประสบความสำเร็จ ได้กล่าวไว้ว่า
 
 
เริ่มแรกได้ขอความช่วยเหลือในการขุดสระน้ำจากอำเภอเขาวง และทางราชการได้ให้การสนับสนุนขุดสระน้ำขนาด 1 ไร่ หลังจากนั้นจึงเริ่มทำการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ในที่ดินข้างๆ สระน้ำ
 
คนละ 11 ไร่ โดยแบ่งเป็นพื้นที่ปลูกข้าว 8 – 9 ไร่ พื้นที่รอบๆ ขอบสระประมาณ 2 ไร่ ปลูกพืชผักสวนครัว เช่น พริก มะเขือ ข่า ตะไคร้ และไม้ผลต่างๆ เช่น มะขามหวาน มะพร้าว มะละกอ ฝรั่ง มะม่วง เป็นต้น ส่วน
 
ในสระน้ำก็เลี้ยงปลานิล ปลาไน ปลาตะเพียน นอกจากนี้ยังเลี้ยงไก่พื้นเมือง และเป็ดอีกด้วย ซึ่งจากเดิมนั้น ทำนาเพียงอย่างเดียว พอหมดหน้านาก็ว่างไม่มีงานทำ แต่พอทำการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ต้องทำงาน
 
ตลอดทั้งปี พอหมดหน้านาพืชผักเกือบทุกชนิดก็จะให้ผลผลิต ส่วนพวกไม้ผลบางส่วน เช่น กล้วย ก็เริ่มให้ ผลผลิต จึงทำให้มีอาหารบริโภคตลอดทั้งปี หากยิ่งขยันทำมากก็จะมีผลผลิตเหลือพอที่จะขายเป็นการเพิ่ม
 
รายได้ให้แก่ครอบครัวอีกด้วย
 
</div>
 
 
 
'''3. โครงการฟาร์มตัวอย่างหนองหมากเฒ่า ตามพระราชดำริสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร'''
 
<div class="kindent">เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยประสบปัญหาเศรษฐกิจอย่างรุนแรง โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม ทำให้เกิดสภาวะว่างงานจำนวนมาก จะเห็นได้ว่ามีแรงงานบางส่วนต้องกลับไปอยู่ชนบทเพื่อไปรับจ้างต่างๆ โดยเฉพาะในช่วงที่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถได้เสด็จเยี่ยมราษฎรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้มีราษฎรถวายฎีกาขอความช่วยเหลือในการประกอบอาชีพต่างๆ จากเหตุผลดังกล่าวจึงทำให้
 
พระองค์ท่านได้พระราชทานความช่วยเหลือ โดยให้จัดหาพื้นที่เพื่อจัดสร้างฟาร์มตัวอย่างขึ้น ณ บริเวณหนองหมากเฒ่า บ้านนาดำ ตำบลห้วยยาง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร โดยให้ชื่อว่า “ฟาร์มตัวอย่าง
 
หนองหมากเฒ่า ตามพระราชดำริฯ จังหวัดสกลนคร”
 
</div>
 
 
'''วัตถุประสงค์'''
 
 
# เพื่อสร้างงานให้กับราษฎรที่ยากจน หรือประสบปัญหาเศรษฐกิจ ที่ประสงค์มีความรู้ทางการเกษตรนำไปประกอบอาชีพได้
 
# เพื่อแสดงถึงการนำเทคโนโลยีทางการเกษตรที่เหมาะสม (Agricultural Appropriate Technology) มาผลิตเพื่อเป็นแหล่งอาหารที่ปลอดสารพิษ
 
# เพื่อแสดงถึงขั้นตอน และวิธีการในการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาปรับใช้ให้เหมาะสม (Applied Technology) และเกษตรกรสามารถนำไปปฏิบัติได้
 
# เพื่อเป็นแหล่งสาธิต (Demonstration) เทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสมแก่ผู้เยี่ยมชม และผู้สนใจทั่วไป
 
 
'''แนวทางการดำเนินงาน'''
 
<div class="kindent">การดำเนินงานของฟาร์มฯ เป็นไปในลักษณะของการเกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Agriculture) โดยการนำหลายๆ หลักการมาปรับใช้ เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ปลอดสารพิษ (Pesticide Free) มีการใช้ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพและให้ผลตอบแทนที่น่าพอใจ เช่น
 
</div>
 
 
# การปลูกพืชผัก ไม้ผล ไม้ดอกไม้ประดับ การเลี้ยงสัตว์ เลี้ยงปลา เพาะเห็ด แบบต่อเนื่องที่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ทุกวัน
 
# การปลูกพืชต่างระดับ โดยคำนึงถึงธรรมชาติของพืชที่จะอยู่ร่วมกันได้ โดยการนำพืชยืนต้นตระกูลถั่วและพืชที่มีคุณสมบัติในการป้องกันกำจัดศัตรูพืชมาร่วมปลูก
 
# ดำเนินการในหลักการของเกษตรยั่งยืน (Sustainable Agriculture) คือ ผู้บริโภคยั่งยืนผู้ผลิตยั่งยืน และสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
 
# การนำเทคโนโลยีทางด้านอารักขาพืชของกรมวิชาการเกษตรมาใช้ (Bio - control)
 
# ดำเนินการภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยให้มีความหลากหลายทางด้านชนิดอาหาร (Food Resource Diversity) มากกว่าผลิตแต่ละชนิดในปริมาณมากๆ และนำการแปรรูปมาเพิ่มมูลค่าผลผลิตให้สูงขึ้น (Value Added)
 
# เมื่อฟาร์มฯ มีเครือข่ายเพิ่มขึ้นก็สามารถปรับให้เป็นไปตามแนวทฤษฎีใหม่ขั้นที่สองได้
 
 
 
'''4. นายประยงค์ รณรงค์ เกษตรกรอำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช'''
 
<div class="kindent">นายประยงค์ รณรงค์ อายุ 67 ปี อาศัยอยู่ที่ตำบลไม้เรียง อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเกษตรกรที่ได้รับรางวัลแม็กไซไซ สาขาพัฒนาชุมชน ประจำปี 2547 นอกจากนั้นยังได้รับประกาศเกียรติคุณอื่นๆ อีกหลายรางวัล เนื่องจากนายประยงค์เป็นผู้ที่ทุ่มเทในการทำงานเพื่อชุมชนมาตลอด 20 ปี โดยมีหลักการดำเนินชีวิตตามแนว “เศรษฐกิจพอเพียง” ผลงานของเกษตรกรรายนี้เริ่มต้นจากการเผชิญปัญหาในเรื่องของยางพารา ซึ่งเป็นอาชีพหลักของคนภาคใต้แต่เป็นอาชีพที่ไม่มีความมั่นคงเพราะผลผลิตขึ้นอยู่กับดินฟ้าอากาศ ราคาที่ขึ้นอยู่กับตลาดโลก ความมั่นคงที่ขึ้นอยู่กับนโยบายรัฐบาล เกษตรกรชาวสวนยางไม่มีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางอนาคตของตนเองเลย จึงมีความคิดที่จะแก้ปัญหาดังกล่าว โดยร่วมมือกับผู้นำเกษตรกรชาวสวนยางในจังหวัดนครศรีธรรมราช จัดทำแผนพัฒนายางพาราไทยขึ้น ด้วยการรวมกลุ่มสร้างความสัมพันธ์เป็นเครือข่ายช่วยเหลือกัน เรียนรู้ร่วมกันนำไปสู่การตั้งเครือข่ายยางพาราไม้เรียงขึ้น ทำให้สามารถแก้ปัญหาเรื่องราคาและอื่นๆ ได้ แต่กระนั้นก็มีความเห็นว่า เกษตรกรในภาคใต้ไม่ควรฝากความหวังไว้กับยางพาราเพียงอย่างเดียว เพราะยางพารากินแทนข้าวไม่ได้จะต้องทำยางให้เป็นเงิน แล้วเอาเงินไปแลกทุกอย่างที่ต้องกินต้องใช้ซึ่งเป็นทางอ้อม จึงได้วางโครงการสร้างการเรียนรู้ในชุมชนขึ้น และกลายเป็นที่มาของแผนแม่บทชุมชนในเวลาต่อมา นอกจากนั้นยังได้ก่อตั้งศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนไม้เรียงขึ้น เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ให้แก่คนในชุมชน โดยมีการจัดทำหลักสูตรในการพัฒนาอาชีพหลัก อาชีพรอง และอาชีพเสริม ซึ่งเป็นการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวทางพระราชดำริมาประยุกต์ใช้ โดยจัดหลักสูตรรวม 8 หลักสูตร คือ การปลูกพืชผักปลอดสารพิษ การเลี้ยงปลาน้ำจืด การเพาะเลี้ยงไก่พื้นบ้าน การเพาะเลี้ยงเห็ด การเพาะเลี้ยงสุกร การผลิตอาหารสัตว์ การแปรรูปข้าว การแพทย์แผนไทยและสมุนไพรเพื่อสุขภาพ หลักสูตรอาชีพทั้ง 8 หลักสูตรนี้เป็นการเรียนรู้โดยเน้นการปฏิบัติจริง และนำมาพัฒนาอาชีพให้แก่เกษตรกรในชุมชนได้นำไปปฏิบัติ นอกจากนี้ยังมีการขยายความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายทั้งในระดับชุมชน อำเภอ จังหวัด ระดับชาติ และระดับนานาชาติ จนเกิดกิจกรรมความร่วมมือระหว่างองค์กรขึ้นอีกหลายกิจกรรม อาทิเช่น “เครือข่ายยมนา” อันเป็นเครือข่ายความร่วมมือระหว่าง 3 กลุ่มอาชีพ คือ กลุ่มยางพารา กลุ่มไม้ผล และกลุ่มทำนา โดยจัดเป็นสถานที่ศึกษา เรียนรู้เรื่องการจัดการทรัพยากรที่เป็นผลผลิตทางการเกษตรของเกษตรกรให้คุ้มค่า และเป็นต้นแบบวิสาหกิจชุมชนอีกด้วย
 
 
ดังนั้น จะเห็นได้ว่านายประยงค์เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ที่หลากหลายมาก มีโอกาสที่จะหาผลประโยชน์ในการทำธุรกิจได้แต่ก็ไม่คิดโลภแต่อย่างใด กลับมุ่งมั่นถ่ายทอดประสบการณ์และองค์ความรู้ให้
 
กับคนรุ่นหลังโดยเน้นองค์ความรู้ 5 ด้าน คือ องค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการองค์กร องค์ความรู้ด้านการจัดทำแผนแม่บทชุมชน องค์ความรู้ด้านการจัดการยางพารา องค์ความรู้ด้านวิสาหกิจชุมชน และองค์
 
ความรู้การจัดการศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ซึ่งล้วนผลักดันให้ชุมชนมีความอยู่ดีกินดี สามารถพึ่งตนเองได้เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับรากหญ้าที่นำปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” มาปรับใช้ในการดำเนินงาน
 
นั่นเอง
 
</div>
 
 
 
===สรุป===
 
<div class="kindent">นับจากที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีกระแสพระราชดำรัสเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 ซึ่งคนไทยทุกคนล้วนจดจำได้อย่างชัดเจนว่า
 
 
<div class="kgreen">“ …พูดกลับไปกลับมาในเรื่องการค้า การบริโภค การผลิต และการขาย รู้ว่าท่านทั้งหลายกำลังกลุ้มใจในวิกฤตการณ์ ตั้งแต่คนที่มีเงินน้อยจนกระทั่งคนที่มีเงินมาก แต่ถ้าสามารถที่จะเปลี่ยนให้กลับเป็นเศรษฐกิจแบบพอเพียง ไม่ต้องทั้งหมด แม้จะไม่ถึงครึ่ง อาจจะเศษหนึ่งส่วนสี่ก็จะสามารถที่จะอยู่ได้ การแก้ไขจะต้องใช้เวลา ไม่ใช่ง่ายๆ โดยมากคนก็ใจร้อนเพราะเดือดร้อน
 
แต่ว่าถ้าทำตั้งแต่เดี๋ยวนี้ก็สามารถที่จะแก้ไขได้…”
 
</div>
 
  
ดังนั้น การปรับทิศทางและโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยที่เป็นอยู่เพียงให้มีเป็นเศษหนึ่งส่วนสี่หรือใกล้เคียง จึงเป็นเรื่องใหญ่โต มีความสลับซับซ้อนและผูกพันธ์กับการตัดสินใจไม่เฉพาะแต่
 
ภาครัฐทั้งระบบ แต่ขยายไปถึงองค์กรเอกชนซึ่งเกือบทั้งหมดได้เข้าไปอยู่ในเศรษฐกิจที่เกินพอ เกินตัวมาโดยตลอด การที่จะให้เกิดความสมดุล โดยดำเนินอยู่ในทางสายกลางทั้งในภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจ
 
โดยให้สอดคล้องไปทุกขั้นตอนของศักยภาพที่มีการผลิต ทั้งระบบเศรษฐกิจจึงต้องอาศัยเวลาและความเพียร ดังที่มีกระแสพระราชดำริข้างต้น
 
  
อย่างไรก็ดี นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงขยายความในส่วนเศรษฐกิจพอเพียงในรูปของทฤษฎีใหม่ และเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ได้ทำให้สังคมไทยมีหลักยึดให้เกิดการบริหารจัดการที่ดี (good
 
governance) รวมถึงการวิเคราะห์ในทางเศรษฐศาสตร์ในระดับการผลิตและการจัดเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงทางเศรษฐกิจครบวงจร (optimization through proper risk management) ได้ต่อไปในอนาคต
 
  
ในการนำเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติในรูปของการเกษตรทฤษฎีใหม่ ดังที่ปรากฏผลสำเร็จในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริทั้งหกศูนย์ ทฤษฎีใหม่จึงเป็นแนวปฏิบัติทางเกษตรกรรมที่
 
ต้องปรับตามความเหมาะสมของพื้นที่และต้องอาศัยการบริหารจัดการทั้งในภาครัฐ และองค์กรพัฒนาต่างๆ ในการเสริมสร้างให้เกิดการขยายโครงข่ายของชุมชน นับจากต้นแบบโครงการนำร่องในการพัฒนา
 
ของวัดมงคลชัยพัฒนา และโครงการขุดสระเก็บกักน้ำ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งมีการสาธิตทฤษฎีใหม่ของบ้านแดนสามัคคี
 
  
ประการที่สำคัญ โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่นี้ได้บรรจุเป็นแผนงานพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืนของชาติ ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยมุ่งสร้างศูนย์สาธิตการเกษตรทฤษฎี
+
[[หมวดหมู่:แนวพระราชดำริ]][[หมวดหมู่:เศรษฐกิจพอเพียง]]
ใหม่มากถึง 8,000 ศูนย์ และยังได้รับการสนับสนุนจากสำนักนายกรัฐมนตรีภายใต้โครงการรวมน้ำ + ใจ ถวายในหลวงอีกด้วย ส่วนทางสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระ
 
ราชดำริ (สำนักงาน กปร.) ยังได้สนับสนุนการประกวดคัดเลือกแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ดีเด่นเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาหกรอบ ซึ่ง
 
ที่ได้ประกาศผลไปแล้ว อาจกล่าวได้ว่าแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎีใหม่ ถือได้ว่าเป็นเสมือน “National Agenda” ที่สำคัญยิ่งของชาติ ซึ่งควรจัดทำและยึดถือเป็นแนวปฏิบัติได้ตลอดไป
 
 
</div>
 
</div>
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]]
 

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:21, 7 ตุลาคม 2552

 

"เศรษฐกิจพอเพียง: ทางเลือกในการพัฒนา"


โดย สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.)
สิงหาคม 2547


ความนำ : ทิศทางการพัฒนาประเทศก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ

เป้าหมายของการพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาหลายทศวรรษที่ผ่านมา คือการสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศหรือจีดีพีเป็นตัวชี้วัดหลัก ดังนั้นเพื่อให้อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงจำเป็นที่จะต้องเร่งรัดให้เกิดการขยายตัวทางการผลิต โดยมีคนและทรัพยากรธรรมชาติเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5-7 อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจไทยสูงขึ้นตามลำดับ โดยเฉพาะจากนโยบายการส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศ ในช่วงแผนพัฒนาประเทศฯ ฉบับที่ 6 ส่งผลให้อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ยสูงขึ้นถึงร้อยละ 10.4 และสามารถรักษาอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจให้อยู่ในระดับร้อยละ 8 โดยเฉลี่ย และในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 ประเทศไทยก็สามารถหลุดพ้นจากการเป็นประเทศยากจน ตามที่ธนาคารโลกได้กำหนด โดยมีรายได้ต่อหัวเพิ่มเป็น 77,000 บาทต่อปี และเป็นที่คาดหวังกันไว้ในช่วงเวลานั้นว่า ประเทศไทยจะต้องก้าวไปสู่ความเป็นนิกส์ หรือเสือตัวที่ 5 ในทวีปเอเชียได้ในที่สุด

ในการเร่งรัดให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ไทยได้เปิดประเทศไปสู่ระบบการค้าเสรีและกลไกของตลาดโลกมีการเคลื่อนย้ายทุนเข้า-ออกประเทศเป็นจำนวนมหาศาล ทั้งในรูปแบบของการลงทุนระยะยาว เช่น การลงทุนในภาคอุตสาหกรรมการผลิตต่าง ๆ และการลงทุนระยะสั้น เช่น การลงทุนในตลาดหุ้น การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์และเปลี่ยนมือในระยะสั้นโดยปั่นราคาให้สูงขึ้นเพื่อทำกำไร ในขณะเดียวกันการบังคับใช้กฎระเบียบทางการเงิน การคลังของประเทศก็ผ่อนคลายลงไปมาก เพื่อสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุน โดยในช่วงเวลาปลายแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 จนถึงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 นี้เองที่เป็นช่วง เศรษฐกิจฟองสบู่เกิดขึ้นเต็มรูปแบบ

ในช่วงปี 2539 ประเทศไทยประสบปัญหาการส่งออกชะลอตัว ส่งผลให้มีการประกาศลอยตัวค่าเงินบาทในเวลาต่อมา จนเกิดสภาพฟองสบู่แตก และกลายเป็นวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงปี 2540 ในระหว่างนั้นค่าเงินบาทตกลงถึงร้อยละ 40 ทำให้ประเทศไทยต้องแบกรับหนี้สาธารณะที่เพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณถึงประมาณ 3.8 ล้านล้านบาท จากการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศในช่วงเวลาที่เศรษฐกิจขยายตัว จากภาระหนี้สินจำนวนมหาศาลนี้เอง ทำให้ไทยต้องทำข้อตกลง กับกองทุนฟื้นฟูระหว่างประเทศหรือไอเอ็มเอฟเข้ามาปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจใหม่ ซึ่งหมายความรวมถึงการถูกจำกัดอิสรภาพในการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจและการเงินของประเทศหลายประการ

กล่าวได้ว่า การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลากว่าเกือบครึ่งศตวรรษนี้ ได้สร้างความเจริญทางวัตถุอย่างมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งถือเป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาประเทศ อย่างไรก็ตาม ภายใต้กระบวนการพัฒนาที่ขาดสมดุลและขาดการพิจารณาปัญหาอย่างเป็นองค์รวม ทำให้การพัฒนาในส่วนอื่นไม่สามารถก้าวทันความเจริญทางวัตถุ เช่น การศึกษา การพัฒนาระบบประชาธิปไตย การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นต้น อันเป็นที่มาของบทสรุปของการพัฒนาที่ว่า เศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ยั่งยืน


เศรษฐกิจพอเพียง : แนวพระราชดำริ และหลักการที่สำคัญ

ในขณะที่รัฐบาลในอดีตพยายามจะพัฒนาประเทศ เพื่อเปลี่ยนโครงสร้างพื้นฐานเศรษฐกิจของประเทศจากเกษตรกรรมเป็นอุตสาหกรรม เพื่อจะพึ่งตนเองในการผลิตสินค้าอุปโภคบริโภค เพื่อยกระดับรายได้ เพื่อให้ประเทศก้าวหน้าและทันสมัยนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดำริชี้แนะแนวทางการพัฒนาประเทศโดยต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของความพอเหมาะพอดี ดังพระราชดำรัสเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2517 มีใจความตอนหนึ่งว่า
“การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยเสริมความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจนั้นสูงขึ้นโดยลำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะสร้างความเจริญยกเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและประชาชน โดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่าง ๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวในที่สุด”
เมื่อประเทศไทยเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจครั้งสำคัญในช่วงปี 2539-2541 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานกำลังใจและพระราชดำริเกี่ยวกับ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาในปี 2540 และ 2541 โดยทรงขยายความคำว่า “พอมีพอกิน” ว่ามีความหมายที่กว้างกว่า “การพึ่งตนเอง” (self-sufficiency) ดังนี้
“ความพอเพียงนี้ไม่ได้หมายความว่า ทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัว จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอำเภอจะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอย่างที่ผลิตได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้ แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไร ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก อย่างนี้ท่านนักเศรษฐกิจต่าง ๆ ก็มาบอกว่าล้าสมัยจริง อาจจะล้าสมัย คนอื่นเขาต้องมีการเศรษฐกิจ ที่ต้องมีการแลกเปลี่ยน เรียกว่าเศรษฐกิจการค้า ไม่ใช่เศรษฐกิจความพอเพียงเลยรู้สึกว่าไม่หรูหรา แต่เมืองไทยเป็นประเทศที่มีบุญอยู่ว่า ผลิตให้พอเพียงได้”

(พระราชดำรัส เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2540)

ต่อมาสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาร่วมกันประมวลและกลั่นกรองพระราชดำรัสเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ที่พระราชทานในวโรกาสต่าง ๆ รวมทั้งพระราชดำรัสอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย ซึ่งพระองค์ก็ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำไปเผยแพร่เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2542 เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป ดังนี้

“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน “ทางสายกลาง” โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำเอาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี


จากข้างต้น จะเห็นได้ว่า มีหลักการสำคัญอยู่ 3 ประการคือ

1) ทางสายกลาง

2) ความพอเพียง พอประมาณ และมีเหตุผล

3) การมีระบบภูมิคุ้มกันที่ดี

หากนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาพิจารณาเพื่อวิเคราะห์ถึงสภาพสาเหตุของปัญหาที่ก่อให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงที่ผ่านมาจะพบว่า กระบวนการพัฒนาดังกล่าวได้ละเลยหลักการสำคัญขั้นพื้นฐาน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งไม่ได้มีความหมายเพียงแค่ “ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง” เท่านั้น แต่ยังหมายความรวมไปถึง “ความพอเพียง พอประมาณ และมีเหตุผล” ไม่โลภ ไม่ฟุ้งเฟ้อ ยึดหลัก “ทางสายกลาง” เพราะการลงทุนที่เกินความพอดี ในขณะที่คนในสังคมจำนวนมากยังไม่สามารถยืนอยู่บนขาของตัวเองได้อย่างมั่นคงนั้น ได้ส่งผลให้ชุมชน สังคม และประเทศชาติขาด “ภูมิคุ้มกัน” ในการป้องกันตนเอง ดังนั้นเมื่อมีวิกฤตจากภายนอกเข้ามากระทบ ก็จะส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนในทุกระดับชั้น ดังพระราชดำรัสที่ว่า
“การจะเป็นเสือนั้นไม่สำคัญ สำคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนั้นหมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตนเอง”
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นการพัฒนาตนเองให้อยู่ในระดับที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ และพัฒนาความสามารถนี้ไปสู่ระดับครัวเรือน ไปจนถึงชุมชน สังคมและประเทศชาติต่อไป ในการพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเน้นการพัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามลำดับขั้นตอน ซึ่งจะต้องสร้างพื้นฐานที่ดีให้กับประชาชนให้มีความพออยู่พอกิน และพึ่งพาตนเองได้ก่อน เพื่อเป็นการสนองพระราชดำริในการพัฒนาประเทศ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จึงได้น้อมนำหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นหลักในการพัฒนาและบริหารประเทศ โดยกำหนดไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) โดยให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่สมดุลทั้งด้านคน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งยึดหลักสายกลาง เพื่อให้ประเทศรอดพ้นจากวิกฤต สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและนำไปสู่การพัฒนาที่สมดุลมีคุณภาพและยั่งยืน

เศรษฐกิจพอเพียง : การประยุกต์ใช้

เนื่องจาก “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดำริชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชน จนกระทั่งการพัฒนาประเทศ ครอบคลุมทุกภาคส่วน ดังนั้น ไม่ว่าผู้ใดก็สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ โดยต้องยึดหลักการดังนี้

ในระดับปัจเจกบุคคล แต่ละบุคคลจะต้องมีสติในการดำรงชีวิต ตระหนักถึงความสุขและความพอใจในการใช้ชีวิตอย่างพอดี คือ ดำเนินชีวิตอย่างสมถะ ประกอบสัมมาอาชีพหาเลี้ยงตนเอง และครอบครัว อย่างพอมีพอกิน โดยไม่เบียดเบียนเอาเปรียบผู้อื่น และแบ่งปันส่วนที่เหลือไปยังสมาชิกอื่น ๆ ในชุมชน

ในระดับชุมชน จะต้องมีการพึ่งพาอาศัยกันในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ รวมไปถึงการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในระดับชุมชน พัฒนากระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน สามารถนำเทคโนโลยีมาพัฒนาชุมชนได้อย่างเหมาะสม โดยยึดหลักความประหยัดและเรียบง่าย สามารถทำได้เองหาได้ในท้องถิ่น รู้จักประยุกต์ใช้ในสิ่งที่มีอยู่ในภูมิภาคนั้น ๆ มาแก้ไขปัญหา โดยไม่ต้องลงทุนหรือใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากนัก

ในระดับประเทศ จะต้องสร้างกระบวนการพัฒนาที่เป็นองค์รวม เพื่อความสมดุลโดยจะต้องพิจารณาในส่วนของทุนทางสังคม ทุนทางเศรษฐกิจ และทุนทางทรัพยากร ในการส่งเสริมการค้า การผลิตจะต้องมีการพิจารณาศักยภาพภายในประเทศว่า ควรจะต้องส่งเสริมการผลิตสินค้าชนิดใด โดยจะต้องผลิตให้ได้พอเพียงกับความต้องการภายในประเทศเสียก่อน แล้วค่อยส่งไปขายต่างประเทศ ในการบริหารจัดการควรให้เกิดความเสี่ยงต่ำ คือไม่ลงทุนจนเกินตัว เพราะจะส่งผลให้เกิดการก่อหนี้จนเกินขีดความสามารถในการจัดการ จะต้องมีการวางแผนอย่างรอบคอบ มุ่งพัฒนาทุนทางสังคม เช่น ระบบการศึกษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการสร้างนวัตกรรม และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับประเทศ โดยคำนึงถึงความประหยัดและเรียบง่าย ทั้งนี้เพื่อลดการพึ่งพาทางเศรษฐกิจและนำเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศ ดังพระบรมราโชวาทตอนหนึ่งว่า

“ในการสร้างสรรค์ต่าง ๆ เพื่อพัฒนาสภาพบ้านเมืองและฐานะความเป็นอยู่ของประชาชนต่อไป ควรหัดเป็นคนช่างสังเกตในการปฏิบัติงานของตนเอง นอกจากเทคโนโลยีที่ใหญ่โตระดับสูงสำหรับใช้ในงานใหญ่ ๆ ที่ต้องการผลมาก แต่ละคนควรจะคำนึงและคิดค้นเทคโนโลยีอย่างง่าย ๆ ควบคู่กันไป เพื่อช่วยให้กิจการที่ใช้ทุนรอนน้อยมีโอกาสนำใช้ได้สะดวกและได้ผลด้วย”

ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ

นับจากที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงขยายความว่าในการพัฒนาประเทศจำเป็นต้องดำเนินตามขั้นตอน โดยเริ่มจากการให้ประชาชนมีความพอมีพอกินเป็นลำดับแรก พระองค์จึงได้พระราชทานพระราชดำริ “เศรษฐกิจพอเพียงในรูปของทฤษฎีใหม่” มาเสนอเพื่อเป็นการย้ำพระราชดำริตั้งแต่ครั้งแรกในปี พ.ศ.2517 และจากนั้นเป็นต้นมาก็จะทรงนำประเด็นนี้มากล่าวแทรก ในกระแสพระราชดำรัสประจำทุกปี และทรงให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริเป็นหน่วยทดลองขยายผล ในขณะที่ประชาชนส่วนใหญ่ต่างพอใจ ที่เศรษฐกิจของประเทศไทย ถึงช่วงที่มีการขยายตัวสูงสุดคือ เกินร้อยละ 10 ติดต่อกัน 3 ปี ในระหว่างปี พ.ศ.2531-2533 ซึ่งเป็นยุคที่สังคมไทยโดยเฉพาะในกลุ่มผู้ที่มีโอกาสทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เริ่มมีพฤติกรรมการบริโภคที่เน้นความหรูหราและฟุ้งเฟ้อ แต่คนในชนบทส่วนใหญ่ของประเทศยังมีปัญหายากจนพึ่งตนเองไม่ได้ มีการล่มสลายของสถาบันครอบครัวและชุมชนในชนบท

ภายหลังจากทรงทดลองปฏิบัติเพื่อจะได้นำแนวความคิด “ทฤษฎีใหม่” ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งของ “เศรษฐกิจพอเพียง” ที่ได้พระราชทานพระบรมราโชวาทมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2517 จากนั้นจึงได้มีพระราชดำรัส เรื่อง “ทฤษฎีใหม่” ในฐานะที่เป็นภาคปฏิบัติทางเกษตรกรรมอย่างเป็นรูปธรรมของ “เศรษฐกิจพอเพียง” มาเผยแพร่แก่ผู้บริหารประเทศระดับสูงและพสกนิกรของพระองค์ และได้พระราชทานอย่างต่อเนื่องเหมือน เป็นการย้ำเตือนว่า เศรษฐกิจฟองสบู่ที่ประเทศไทยกำลังนิยมยินดีกันระหว่างปี พ.ศ.2536-2539 เป็นสิ่งทไม่จีรังยั่งยืนและจะก่อให้เกิดผลเสียแก่ประชาชนเป็นจำนวนมาก เพราะความโลภเห็นแก่ตัวและการเอา เปรียบของคนจำนวนหนึ่ง ซึ่งมีพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า

“เป็นภัยที่มาจากจิตใจคน ซึ่งแก้ได้เหมือนกัน แต่ยากกว่าภัยธรรมชาติ”

แต่กระแสพระราชดำรัสดังกล่าวก็ยังมิได้รับการสนองตอบด้วยดีนัก จนกระทั่งเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจในปี พ.ศ.2540 ที่ทำให้นักเศรษฐศาสตร์โดยทั่วไปเริ่มตระหนักถึงความสำคัญต่อพระราชดำรัสที่ผ่านมา แม้กระนั้นก็ยังมีความสับสนและไม่เข้าใจ เนื่องจากคุ้นเคยกับความคิดซึ่งใช้ในตะวันตกที่อธิบายคำว่า “Self-Sufficient Economy” ในความหมายเช่นเดียวกับการปิดประเทศไม่ค้าขายกับใครแต่อย่างใด ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเสนอแนะ ให้เพิ่มสัดส่วนเศรษฐกิจพอเพียง จากที่ทรงเห็นว่าจากเดิมไม่ให้ความสำคัญในเรื่องนี้เลย เนื่องจากประเทศเน้นการผลิตเพื่อการค้าทั้งหมด แล้วปรับเปลี่ยนมาเป็นการผลิต เพื่อการสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจให้แก่ตนเองส่วนหนึ่งอันเป็นความหมายที่สำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง ดังพระราชดำรัสเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2540 ความตอนหนึ่งว่า

“ถ้าสามารถที่จะเปลี่ยนไป ทำให้กลับเป็นเศรษฐกิจแบบพอเพียง ไม่ต้องทั้งหมดแม้แค่ครึ่งก็ไม่ต้อง อาจจะสักเศษหนึ่งส่วนสี่ก็จะสามารถอยู่ได้ การแก้ไขอาจจะต้องใช้เวลา ไม่ใช่ง่าย ๆ โดยมากคนก็ใจร้อนเพราะเดือดร้อน แต่ถ้าทำตั้งแต่เดี๋ยวนี้ก็สามารถที่จะแก้ไขได้”

ถึงแม้จะเริ่มมีความเข้าใจเศรษฐกิจพอเพียงตามความหมายของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แต่บางส่วนก็ไปยึดพื้นที่การเกษตร แทนที่จะยึดสัดส่วนของกิจกรรมระหว่างเศรษฐกิจค้าขายและเศรษฐกิจพอเพียง เป็นเหตุให้ทรงขยายความเข้าใจใหม่ในปี พ.ศ.2541 โดยอธิบายในสองความหมายคือ ความพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมากและต้องไม่เบียดเบียนผู้อื่น หรือความหมายที่นักเศรษฐศาสตร์โดยทั่วไปอาจจะเข้าใจได้ง่ายขึ้นคือ ความพอประมาณและความมีเหตุผล

ทฤษฎีใหม่จึงเป็นแนวทางหนึ่งของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาหลักของเกษตรกรในอดีตจนถึงปัจจุบันที่สำคัญประการหนึ่ง คือ การขาดแคลนน้ำเพื่อเกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่เกษตรที่อาศัยน้ำฝน ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศที่อยู่ในเขตที่มีฝนค่อนข้างน้อยและส่วนมากเป็นนาข้าวและพืชไร่ เกษตรกรยังคงทำการเพาะปลูกได้ปีละครั้งในช่วงฤดูฝนเท่านั้น และมีความเสี่ยงกับความเสียหายอันเนื่องมาจากความแปรปรวนของดินฟ้าอากาศ และฝนทิ้งช่วง แม้ว่าจะมีการขุดบ่อหรือ สระเก็บน้ำไว้ใช้บ้างแต่ก็มีขนาดไม่แน่นอน หรือมีปัจจัยอื่น ๆ ที่เป็นปัญหาให้มีน้ำใช้ไม่เพียงพอ รวมทั้งระบบการปลูกพืชไม่มีหลักเกณฑ์ใด ๆ และส่วนใหญ่ปลูกพืชชนิดเดียว

1. ทฤษฎีใหม่ : เศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเกษตรกร การที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมเยียนราษฎรในทุกภูมิภาคของประเทศ ทรงพบว่า ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศไทยที่อยู่ในภาคเกษตรกรรม ผลิตอาหารให้แก่ประเทศและโลกโดยส่วนรวม ยังคงมีฐานะยากจนแร้นแค้นเพราะประสบปัญหาเกี่ยวกับการทำมาหากิน อันเนื่องมาจากที่ดินทำกินขาดความสมบูรณ์หรือขาดแคลนน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดำริเกี่ยวกับ “ทฤษฎีใหม่” เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2537 เกี่ยวกับการจัดการที่ดินและแหล่งน้ำซึ่งเป็นระบบเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเกษตรกรเพื่อให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเอง มีความมั่นคงในเรื่องการดำรงชีพ และสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครอบครัวและชุมชนตามสมควรแก่อัตภาพ ทั้งนี้ หลักการของทฤษฎีใหม่สามารถแบ่งได้เป็น 3 ขั้น คือ

ขั้นที่ 1 “พึ่งตนเอง”

การที่เกษตรกรจะสามารถเลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้นั้น จะต้องแบ่งพื้นที่ทำกินของเกษตรกร ซึ่งเฉลี่ยแล้วเกษตรกรไทยครอบครองเนื้อที่ดินประมาณ 10-15 ไร่ โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

ส่วนแรก ร้อยละ 30 หรือเนื้อที่เฉลี่ย 3 ไร่ ให้ขุดเป็นสระกักเก็บน้ำขนาดความลึกประมาณ 4 เมตร ไว้ใช้ในการเพาะปลูก

ส่วนที่สอง ร้อยละ 60 หรือเนื้อที่เฉลี่ย 10 ไร่ ใช้เป็นพื้นที่ทำการเกษตร แบ่งออกเป็นร้อยละ 30 ส่วนที่หนึ่ง ทำนาข้าว และร้อยละ 30 ส่วนที่สอง ปลูกพืชไร่หรือพืชสวน ตามแต่สภาพพื้นที่ และภาวะตลาด

ส่วนที่สาม ร้อยละ 10 หรือเนื้อที่เฉลี่ย 2 ไร่ ใช้เป็นพื้นที่อยู่อาศัยและใช้สอย ตลอดจนปลูกพืชสวนครัวและเลี้ยงสัตว์

การจัดแบ่งสัดส่วนที่ดินออกเป็นส่วน ๆ ดังนี้ เพื่อให้มีความพอเพียงในการเลี้ยงตัวเองได้ในระดับที่ประหยัดก่อน โดยยึดหลักว่า การทำนา 5 ไร่ของครอบครัวหนึ่ง ๆ จะมีข้าวบริโภคได้พอเพียงตลอดทั้งปี และหากเมื่อเหลือจากการบริโภคแล้ว จึงจำหน่ายออกสู่ตลาดเพื่อเก็บเป็นเงินทุนต่อไป

ขั้นที่ 2 “รวมกลุ่ม” เมื่อมีความมั่นคงเข้มแข็งในระดับครัวเรือนแล้ว เกษตรกรในชุมชนต้องมีการรวมกลุ่มเพื่อการผลิตและการตลาด เพื่อจะได้สามารถพัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจให้มีความหลากหลาย ครอบคลุมทั้งเกษตรแบบผสมผสาน หัตถกรรม การแปรรูปอาหาร การทำธุรกิจ ค้าขาย การท่องเที่ยว เป็นต้น เมื่อชุมชนมีความเข้มแข็งพอสมควรก็จะสามารถพัฒนาระบบสวัสดิการ การศึกษา สาธารณสุขเพื่อชุมชนเติบโตอย่างมีเสถียรภาพต่อไป

ขั้นที่ 3 “สู่ภายนอก”

เมื่อชุมชนมีความเข้มแข็งแล้ว จึงเข้าสู่ขั้นที่ 3 คือ การสร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพกับภายนอกและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้หลากหลาย โดยประสานความร่วมมือกับภาคธุรกิจ ภาคองค์กรพัฒนาเอกชนและภาคราชการในด้านเงินทุน การตลาด การผลิต การจัดการและข่าวสารข้อมูล ทั้งนี้สมาชิกในชุมชนจะต้องมีความสามัคคี สร้างความมั่นคงให้เกิดขึ้นในชุมชน รวมทั้งการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ของชุมชนบนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่นและรักษาไว้ซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามให้คงอยู่ตลอดไป

2. ปัจจัยที่ทำให้เศรษฐกิจพอเพียงในรูปเกษตรทฤษฎีใหม่ประสบผลสำเร็จ

1. เกษตรกรควรมีความขยันหมั่นเพียร ความตั้งใจ มีที่ดินเป็นของตนเอง และมีทุนในการดำเนินงานบ้างพอสมควร

2. เกษตรกรควรมีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่ มีความรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพการเกษตรพอสมควร เต็มใจและพร้อมรับวิทยาการใหม่ ๆ

3. ทฤษฎีใหม่ต้องอาศัยความร่วมมือกัน การประสานงานกันทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชน และเกษตรกรเองในด้านต่าง ๆ เช่น งบประมาณการดำเนินงานตามขั้นตอนและการตลาดอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

4. การจัดสรรพื้นที่ทางการเกษตร ควรคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม และปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่

5. การดำเนินงาน โดยอาศัยกระบวนการกลุ่มสนับสนุนให้ประชาชนรวมกลุ่มดำเนินกิจการร่วมกัน และก่อให้เกิดความสามัคคีภายในกลุ่มก่อน แล้วจึงขยายออกไปนอกกลุ่มภายหลัง

3. อุปสรรคของการนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในรูปของทฤษฎีใหม่ไปปฏิบัติ

1. การสร้างความเข้าใจให้แก่บุคคล ทั้งตัวเกษตรกรเองและผู้อื่น ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เข้าถึงหลักการ แนวความคิด สาระสำคัญของทฤษฎีใหม่ ต้องอาศัยการประชาสัมพันธ์ที่ดีเพียงพอ ซึ่งในปัจจุบันสังเกตได้ว่า ข่าวสารข้อมูลมีมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ยังมีความเข้าใจที่แตกต่างกันไปเกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยเฉพาะตัวเกษตรกรเอง ยังมีบางกลุ่มที่ไม่เข้าใจถึงวัตถุประสงค์หลักของทฤษฎีใหม่ที่แท้จริง

2. การที่เกษตรกรมีที่พักอาศัยและผืนนาที่ทำเกษตรทฤษฎีใหม่อยู่คนละที่ อาจทำให้เป็นอุปสรรคในการทำการเกษตรให้ได้ผลดี

3. เกษตรกรบางส่วนมีความเข้าใจว่า การเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่เน้นที่การค้ามิใช่การบริโภคเพียงพอเป็นอันดับแรก จึงทำให้การทำการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ผิดหลักการ จึงควรสร้างความเข้าใจให้แก่เกษตรกร เข้าใจอย่างถ่องแท้ว่า ควรผลิตเพื่อบริโภคในครัวเรือนก่อน แล้วจึงนำส่วนเกินออกขายภายนอกได้

4. เกษตรกรบางรายมีแรงงานในครอบครัวไม่เพียงพอในการทำกิจกรรม หรืออาจมีอายุมากซึ่งเป็นข้อจำกัดที่จะทำการเกษตรในระยะยาวตามลักษณะเกษตรยั่งยืนต่อไป

5. การที่เกษตรกรไม่เข้าใจทฤษฎีใหม่อย่างเพียงพอ ทำให้มีการใช้ปัจจัยการผลิตอย่างไม่มีประสิทธิภาพ เมื่อได้รับปัจจัยการผลิตโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ก็ทอดทิ้งโดยเปล่าประโยชน์ไม่นำไปเพาะปลูก กรณีนี้จะทำให้ประเทศชาติเสียทรัพยากรไปโดยเปล่าประโยชน์

4. ประโยชน์ของการนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในรูปของทฤษฎีใหม่ไปปฏิบัติ

1. ให้ประชาชนพออยู่พอกินสมควรแก่อัตภาพในระดับที่ประหยัด ไม่อดอยากและเลี้ยงตนเองได้ตามหลักปรัชญาของ “เศรษฐกิจพอเพียง”

2. ในหน้าแล้งมีน้ำน้อย ก็สามารถเอาน้ำที่เก็บไว้ในสระมาปลูกพืชผักต่าง ๆ ที่ใช้น้ำน้อยได้โดยไม่ต้องเบียดเบียนชลประทาน

3. ในปีที่ฝนตกตามฤดูกาลโดยมีน้ำดีตลอดปีทฤษฎีใหม่น้ำก็สามารถสร้างรายได้ให้ร่ำรวยขึ้นได้

4. ในกรณีที่เกิดอุทกภัยก็สามารถที่จะฟื้นตัวและช่วยตนเองได้ในระดับหนึ่ง โดยทางราชการไม่ต้องช่วยเหลือมากเกินไป อันเป็นการประหยัดงบประมาณด้วย


ต่อหน้า 2 >>

ดูเพิ่มเติม ทฤษฎีใหม่ / ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ / ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ / ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ / ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ / ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ / ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ