ผลต่างระหว่างรุ่นของ "08.ลักษณะโดยทั่วไปและการขยายพันธุ์หญ้าแฝก"

(สร้างหน้าใหม่: {{สารบัญหญ้าแฝกดอยตุง}} '''ลักษณะโดยทั่วไป''' [[หมวดหมู่:โครงก...)
 
แถว 2: แถว 2:
  
 
'''ลักษณะโดยทั่วไป'''
 
'''ลักษณะโดยทั่วไป'''
[[หมวดหมู่:โครงการพัฒนาหญ้าแฝก(ดอยตุง)]]ต้นแตกกอแน่น เมื่อโตเต็มที่สูงประมาณ 2 เมตรหรือกว่านั้น ออกดอกเป็นช่อยาว 15-30 ซม. สีเหลืองปนเทาหรือม่วง ดอกเกิดเป็นคู่ๆ ดอกหนึ่งมีก้านดอก อีกดอกหนึ่งไม่มีก้านดอก ดอกที่ไม่มีก้านดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กล่าวคือมีทั้งเกสรตัวผู้และตัวเมีย ส่วนดอกที่มีก้านดอกเป็นเพศผู้ หญ้าแฝกมีรากยาวและแข็งแรง ที่ปลายรากมีโครงสร้างคล้ายฟองน้ำหุ้ม บางพันธุ์มีกลิ่นหอม เท่าที่สังเกตหญ้าแฝกจากแหล่งต่างๆ ที่นำมาปลูกไว้ในโครงการฯ อาจจำแนกอย่างหยาบๆ ในขณะนี้ออกเป็น 2 พวก พวกที่มาจากแหล่งธรรมชาติและพวกที่มีผู้นำเข้ามาจากต่างประเทศมาปลูกไว้ โดยอ้างว่าเป็นหญ้าแฝกที่รากมีกลิ่นหอม ทั้ง 2 พวกต่างออกดอกที่มีลักษณะและสีสันใกล้เคียงกัน สำหรับรายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะช่อดอก การผลิตเมล็ดและการงอกของเมล็ด ขณะนี้กำลังดำเนินการศึกษาอยู่ ความแตกต่างของหญ้าแฝกทั้ง 2 พวก เท่าที่สังเกตพบว่า หญ้าแฝกจากแหล่งธรรมชาติมีลำต้นหนาปานกลางรากสั้นกว่า แต่แตกแขนงและกิ่งก้านมากกว่า ส่วนพวกที่มีรากหอมมีลำต้นหนากว่า รากยาวกว่า แต่ไม่แตกแขนงหรือมีกิ่งก้านมากเหมือนพวกมาจากธรรมชาติ
+
<div class="kindent">ต้นแตกกอแน่น เมื่อโตเต็มที่สูงประมาณ 2 เมตรหรือกว่านั้น ออกดอกเป็นช่อยาว 15-30 ซม. สีเหลืองปนเทาหรือม่วง ดอกเกิดเป็นคู่ๆ ดอกหนึ่งมีก้านดอก อีกดอกหนึ่งไม่มีก้านดอก ดอกที่ไม่มีก้านดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กล่าวคือมีทั้งเกสรตัวผู้และตัวเมีย ส่วนดอกที่มีก้านดอกเป็นเพศผู้ หญ้าแฝกมีรากยาวและแข็งแรง ที่ปลายรากมีโครงสร้างคล้ายฟองน้ำหุ้ม บางพันธุ์มีกลิ่นหอม เท่าที่สังเกตหญ้าแฝกจากแหล่งต่างๆ ที่นำมาปลูกไว้ในโครงการฯ อาจจำแนกอย่างหยาบๆ ในขณะนี้ออกเป็น 2 พวก พวกที่มาจากแหล่งธรรมชาติและพวกที่มีผู้นำเข้ามาจากต่างประเทศมาปลูกไว้ โดยอ้างว่าเป็นหญ้าแฝกที่รากมีกลิ่นหอม ทั้ง 2 พวกต่างออกดอกที่มีลักษณะและสีสันใกล้เคียงกัน สำหรับรายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะช่อดอก การผลิตเมล็ดและการงอกของเมล็ด ขณะนี้กำลังดำเนินการศึกษาอยู่ ความแตกต่างของหญ้าแฝกทั้ง 2 พวก เท่าที่สังเกตพบว่า หญ้าแฝกจากแหล่งธรรมชาติมีลำต้นหนาปานกลางรากสั้นกว่า แต่แตกแขนงและกิ่งก้านมากกว่า ส่วนพวกที่มีรากหอมมีลำต้นหนากว่า รากยาวกว่า แต่ไม่แตกแขนงหรือมีกิ่งก้านมากเหมือนพวกมาจากธรรมชาติ
  
 
การศึกษาจากเอกสาร Grasses of the Malaya 1971. โดย H.B.Gilliland<nowiki>*</nowiki> พบว่า Vetiveria nemoralis มีกลักษณะดังนี้ เป็นพืชที่อยู่ข้ามปี ลำต้นแตกกอแน่น สูงถึง 75 ซม. กาบใบที่โคนแบนหลวม (ไม่ติดแน่นกับลำต้น) ยาว 3-4 ซม. ไม่มีขน ข้อห่าง ใบยาว 15-20 ซม. กว้าง 3-5 มม. ใบแคบปลายแหลมมักม้วน เกลี้ยงไม่มีขน ขอบใบคม ที่กาบใบมีหูยาว 3 มม. อยู่ด้านโคนใบ ช่อดอกเป็น Panicle ยาว 12 ซม. กว้าง 6 ซม. แขนงของช่อย่อยประกอบด้วยดอกย่อยที่ไม่มีก้าน 1 หรือ 2 ดอก ส่วนดอกที่อยู่ปลายช่อมีก้านและเป็นดอกตัวผู้ ดอกที่อยู่ถัดลงมาเป็นดอกย่อยมีก้าน 1 ดอก มีข้อห่างกัน 5 มม. ก้านช่อดอกต่ำลงมา 2 มม. จะมีขน เกสรตัวผู้มี 3 เกสรตัวเมีย 2 เกสรตัวเมียมีขนมาก
 
การศึกษาจากเอกสาร Grasses of the Malaya 1971. โดย H.B.Gilliland<nowiki>*</nowiki> พบว่า Vetiveria nemoralis มีกลักษณะดังนี้ เป็นพืชที่อยู่ข้ามปี ลำต้นแตกกอแน่น สูงถึง 75 ซม. กาบใบที่โคนแบนหลวม (ไม่ติดแน่นกับลำต้น) ยาว 3-4 ซม. ไม่มีขน ข้อห่าง ใบยาว 15-20 ซม. กว้าง 3-5 มม. ใบแคบปลายแหลมมักม้วน เกลี้ยงไม่มีขน ขอบใบคม ที่กาบใบมีหูยาว 3 มม. อยู่ด้านโคนใบ ช่อดอกเป็น Panicle ยาว 12 ซม. กว้าง 6 ซม. แขนงของช่อย่อยประกอบด้วยดอกย่อยที่ไม่มีก้าน 1 หรือ 2 ดอก ส่วนดอกที่อยู่ปลายช่อมีก้านและเป็นดอกตัวผู้ ดอกที่อยู่ถัดลงมาเป็นดอกย่อยมีก้าน 1 ดอก มีข้อห่างกัน 5 มม. ก้านช่อดอกต่ำลงมา 2 มม. จะมีขน เกสรตัวผู้มี 3 เกสรตัวเมีย 2 เกสรตัวเมียมีขนมาก

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:49, 2 กันยายน 2551

สารบัญ

ลักษณะโดยทั่วไป

ต้นแตกกอแน่น เมื่อโตเต็มที่สูงประมาณ 2 เมตรหรือกว่านั้น ออกดอกเป็นช่อยาว 15-30 ซม. สีเหลืองปนเทาหรือม่วง ดอกเกิดเป็นคู่ๆ ดอกหนึ่งมีก้านดอก อีกดอกหนึ่งไม่มีก้านดอก ดอกที่ไม่มีก้านดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กล่าวคือมีทั้งเกสรตัวผู้และตัวเมีย ส่วนดอกที่มีก้านดอกเป็นเพศผู้ หญ้าแฝกมีรากยาวและแข็งแรง ที่ปลายรากมีโครงสร้างคล้ายฟองน้ำหุ้ม บางพันธุ์มีกลิ่นหอม เท่าที่สังเกตหญ้าแฝกจากแหล่งต่างๆ ที่นำมาปลูกไว้ในโครงการฯ อาจจำแนกอย่างหยาบๆ ในขณะนี้ออกเป็น 2 พวก พวกที่มาจากแหล่งธรรมชาติและพวกที่มีผู้นำเข้ามาจากต่างประเทศมาปลูกไว้ โดยอ้างว่าเป็นหญ้าแฝกที่รากมีกลิ่นหอม ทั้ง 2 พวกต่างออกดอกที่มีลักษณะและสีสันใกล้เคียงกัน สำหรับรายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะช่อดอก การผลิตเมล็ดและการงอกของเมล็ด ขณะนี้กำลังดำเนินการศึกษาอยู่ ความแตกต่างของหญ้าแฝกทั้ง 2 พวก เท่าที่สังเกตพบว่า หญ้าแฝกจากแหล่งธรรมชาติมีลำต้นหนาปานกลางรากสั้นกว่า แต่แตกแขนงและกิ่งก้านมากกว่า ส่วนพวกที่มีรากหอมมีลำต้นหนากว่า รากยาวกว่า แต่ไม่แตกแขนงหรือมีกิ่งก้านมากเหมือนพวกมาจากธรรมชาติ

การศึกษาจากเอกสาร Grasses of the Malaya 1971. โดย H.B.Gilliland* พบว่า Vetiveria nemoralis มีกลักษณะดังนี้ เป็นพืชที่อยู่ข้ามปี ลำต้นแตกกอแน่น สูงถึง 75 ซม. กาบใบที่โคนแบนหลวม (ไม่ติดแน่นกับลำต้น) ยาว 3-4 ซม. ไม่มีขน ข้อห่าง ใบยาว 15-20 ซม. กว้าง 3-5 มม. ใบแคบปลายแหลมมักม้วน เกลี้ยงไม่มีขน ขอบใบคม ที่กาบใบมีหูยาว 3 มม. อยู่ด้านโคนใบ ช่อดอกเป็น Panicle ยาว 12 ซม. กว้าง 6 ซม. แขนงของช่อย่อยประกอบด้วยดอกย่อยที่ไม่มีก้าน 1 หรือ 2 ดอก ส่วนดอกที่อยู่ปลายช่อมีก้านและเป็นดอกตัวผู้ ดอกที่อยู่ถัดลงมาเป็นดอกย่อยมีก้าน 1 ดอก มีข้อห่างกัน 5 มม. ก้านช่อดอกต่ำลงมา 2 มม. จะมีขน เกสรตัวผู้มี 3 เกสรตัวเมีย 2 เกสรตัวเมียมีขนมาก

* Gilliland, H.B., 1791. Flora of Malaya, Volume 3, Grasses of Malaya Lim Bian Han, Government Printer, Singapore, 319p.