ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสด็จพระราชดำเนินไปประทับต่างประเทศ"

(Wikipedia python library)
 
แถว 1: แถว 1:
เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๖ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นำพระธิดาพระโอรสทั้งสองพระองค์ไปประทับที่เมืองโลซาน (Lausanne) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (Switzerland) เพื่อรักษาพระพลานามัยของพระโอรสพระองค์ใหญ่และเพื่อให้ทั้ง ๓ พระองค์ได้ทรงศึกษาด้วย ระยะแรกประทับที่แฟลตเลขที่ ๑๖ ถนนติสโซท์(Tissot) และทรงจัดให้พระธิดาและพระโอรสเข้าทรงศึกษาระดับประถมในโรงเรียนเมียร์มองต์ (Miremont)  
+
<div id="bg_g5">
 
+
<center><h3>ทรงพระผนวช</h3></center>
หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติเมื่อวันที่ ๒ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๗๗ รัฐบาลไทยได้อัญเชิญพระวรวงค์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล
+
<div class="kindent">เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๖ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นำพระธิดาพระโอรสทั้งสองพระองค์ไปประทับที่เมืองโลซาน (Lausanne) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (Switzerland) เพื่อรักษาพระพลานามัยของพระโอรสพระองค์ใหญ่และเพื่อให้ทั้ง ๓ พระองค์ได้ทรงศึกษาด้วย ระยะแรกประทับที่แฟลตเลขที่ ๑๖ ถนนติสโซท์(Tissot) และทรงจัดให้พระธิดาและพระโอรสเข้าทรงศึกษาระดับประถมในโรงเรียนเมียร์มองต์ (Miremont)  
ขึ้นครองราชย์สมบัติเป็นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๘ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ สมเด็จพระบรมราชชนนีได้ทรงจัดหาที่ประทับใหม่ให้สมพระเกียรติทรงย้ายไปประทับที่บ้านขนาดใหญ่ที่เมืองปุยยี (Pully) ติดกับเมืองโลซาน ซึ่งพระราชทานชื่อว่า “วิลล่าวัฒนา” (Villa Vadhana) ต่อมาสมเด็จพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระอนุชาทรงได้รับสถาปนาพระอิสริยยศจากพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขึ้นเป็นเจ้าฟ้า คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาและสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ส่วนสมเด็จพระบรมราชชนนีขณะนั้นทรงได้รับสถาปนาพระอิสริยยศเป็นพระราชชนนีศรีสังวาลย์ และเนื่องจากขณะนั้นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงพระเยาว์จึงต้องมีคณะ
 
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ พุทธศักราช ๒๔๘๑ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ขณะยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระอนุชา ได้โดยเสด็จสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัตประเทศไทยครั้งแรก พร้อมด้วยพระราชชนนีศรีสังวาลย์และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา ถึงกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน
 
  
 +
หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติเมื่อวันที่ ๒ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๗๗ รัฐบาลไทยได้อัญเชิญพระวรวงค์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดลขึ้นครองราชย์สมบัติเป็นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๘ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ สมเด็จพระบรมราชชนนีได้ทรงจัดหาที่ประทับใหม่ให้สมพระเกียรติทรงย้ายไปประทับที่บ้านขนาดใหญ่ที่เมืองปุยยี (Pully) ติดกับเมืองโลซาน ซึ่งพระราชทานชื่อว่า “วิลล่าวัฒนา” (Villa Vadhana) ต่อมาสมเด็จพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระอนุชาทรงได้รับสถาปนาพระอิสริยยศจากพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขึ้นเป็นเจ้าฟ้า คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาและสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ส่วนสมเด็จพระบรมราชชนนีขณะนั้นทรงได้รับสถาปนาพระอิสริยยศเป็นพระราชชนนีศรีสังวาลย์ และเนื่องจากขณะนั้นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงพระเยาว์จึงต้องมีคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ พุทธศักราช ๒๔๘๑ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ขณะยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระอนุชา ได้โดยเสด็จสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัตประเทศไทยครั้งแรก พร้อมด้วยพระราชชนนีศรีสังวาลย์และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา ถึงกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน
  
 
พุทธศักราช ๒๔๘๑ ประทับ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต การเสด็จนิวัตพระนครครั้งนี้คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลได้ประกาศสถาปนาพระอิสริยยศพระราชชนนีศรีสังวาลย์เป็น “สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์” ระหว่างที่ประทับอยู่ในพระนครเป็นเวลาประมาณ ๒ เดือน พระราชจริยวัตรและพระราชกรณียกิจของทุกพระองค์ โดยเฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๘ และสมเด็จพระอนุชาได้ผูกพันจิตใจ สร้างขวัญและความหวังไว้แก่ชาวไทยอย่างมั่นคง ครั้นถึงเดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๔๘๑ (นับเป็นปลายปี) จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประเทศ
 
พุทธศักราช ๒๔๘๑ ประทับ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต การเสด็จนิวัตพระนครครั้งนี้คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลได้ประกาศสถาปนาพระอิสริยยศพระราชชนนีศรีสังวาลย์เป็น “สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์” ระหว่างที่ประทับอยู่ในพระนครเป็นเวลาประมาณ ๒ เดือน พระราชจริยวัตรและพระราชกรณียกิจของทุกพระองค์ โดยเฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๘ และสมเด็จพระอนุชาได้ผูกพันจิตใจ สร้างขวัญและความหวังไว้แก่ชาวไทยอย่างมั่นคง ครั้นถึงเดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๔๘๑ (นับเป็นปลายปี) จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประเทศ
 
สวิตเซอร์แลนด์เพื่อทรงศึกษาต่อ
 
สวิตเซอร์แลนด์เพื่อทรงศึกษาต่อ
  
 +
วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๘๘ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลนิวัตประเทศไทยเป็นครั้งที่ ๒ พร้อมด้วยสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาถึงกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๘๘ ประทับ ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๘๙ ทรงได้รับพระราชทานพระยศร้อยโทนายทหารพิเศษประจำกรมทหารราบที่ ๑ กองพันที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะประทับในประเทศไทยได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรทั้งในพระนครและจังหวัดใกล้เคียงเสมอ ต่อมา เมื่อสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคตลงอย่างกะทันหัน เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ รัฐบาลได้กราบบังคมทูลอัญเชิญพระองค์ขึ้นครองราชย์สืบสันตติวงศ์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ แต่โดยที่ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ จึงต้องมีคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ชั่วคราว และได้มีประกาศเฉลิมพระปรมาภิไธยเมื่อวันที่ ๑๑ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ ว่า “สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช” ขณะนั้นทรงเจริญพระชนมพรรษา ๑๘ พรรษา
  
วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๘๘ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลนิวัตประเทศไทยเป็นครั้งที่ ๒ พร้อมด้วยสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาถึงกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๘๘ ประทับ ณ
+
เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๙๐ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงเจริญพระชนมพรรษา ๒๐ พรรษาบริบูรณ์ ในโอกาสที่ทรงบรรลุนิติภาวะแล้วนี้ ทางรัฐบาลไทยโดยพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัติ<sup>(๑)</sup>เสด็จไปยังเมืองโลซานเพื่อเข้าฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทกราบบังคมทูลเชิญให้เสด็จนิวัตพระนครเพื่อประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก แต่ทรงขอให้งดพระราชพิธีไว้ก่อนจนกว่าจะทรงสำเร็จการศึกษา
พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๘๙ ทรงได้รับพระราชทานพระยศร้อยโทนายทหารพิเศษประจำกรมทหารราบที่ ๑ กองพันที่ ๑
+
</div>
มหาดเล็กรักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะประทับในประเทศไทยได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรทั้งในพระนครและจังหวัดใกล้เคียงเสมอ ต่อมา เมื่อสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคตลงอย่างกะทันหัน เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ รัฐบาลได้กราบบังคมทูลอัญเชิญพระองค์ขึ้นครองราชย์สืบสันตติวงศ์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ แต่โดยที่ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ จึงต้องมีคณะผู้สำเร็จราชการ
 
แทนพระองค์ชั่วคราว และได้มีประกาศเฉลิมพระปรมาภิไธยเมื่อวันที่ ๑๑ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ ว่า “สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช” ขณะนั้นทรงเจริญพระชนม
 
พรรษา ๑๘ พรรษา
 
 
 
 
 
เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๙๐ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงเจริญพระชนมพรรษา ๒๐ พรรษาบริบูรณ์ ในโอกาสที่ทรงบรรลุนิติภาวะแล้วนี้ ทางรัฐบาลไทยโดยพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัติ(๑)เสด็จไปยังเมืองโลซานเพื่อเข้าฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทกราบบังคมทูลเชิญให้เสด็จนิวัตพระนครเพื่อประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก แต่ทรงขอให้งดพระราชพิธีไว้ก่อนจนกว่าจะทรงสำเร็จการศึกษา
 
 
 
  
 
๑ พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๔
 
๑ พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๔
แถว 25: แถว 18:
  
 
[[หมวดหมู่:พระราชประวัติ]]
 
[[หมวดหมู่:พระราชประวัติ]]
 +
</div>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:00, 2 ตุลาคม 2552

ทรงพระผนวช

เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๖ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นำพระธิดาพระโอรสทั้งสองพระองค์ไปประทับที่เมืองโลซาน (Lausanne) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (Switzerland) เพื่อรักษาพระพลานามัยของพระโอรสพระองค์ใหญ่และเพื่อให้ทั้ง ๓ พระองค์ได้ทรงศึกษาด้วย ระยะแรกประทับที่แฟลตเลขที่ ๑๖ ถนนติสโซท์(Tissot) และทรงจัดให้พระธิดาและพระโอรสเข้าทรงศึกษาระดับประถมในโรงเรียนเมียร์มองต์ (Miremont)

หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติเมื่อวันที่ ๒ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๗๗ รัฐบาลไทยได้อัญเชิญพระวรวงค์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดลขึ้นครองราชย์สมบัติเป็นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๘ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ สมเด็จพระบรมราชชนนีได้ทรงจัดหาที่ประทับใหม่ให้สมพระเกียรติทรงย้ายไปประทับที่บ้านขนาดใหญ่ที่เมืองปุยยี (Pully) ติดกับเมืองโลซาน ซึ่งพระราชทานชื่อว่า “วิลล่าวัฒนา” (Villa Vadhana) ต่อมาสมเด็จพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระอนุชาทรงได้รับสถาปนาพระอิสริยยศจากพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขึ้นเป็นเจ้าฟ้า คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาและสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ส่วนสมเด็จพระบรมราชชนนีขณะนั้นทรงได้รับสถาปนาพระอิสริยยศเป็นพระราชชนนีศรีสังวาลย์ และเนื่องจากขณะนั้นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงพระเยาว์จึงต้องมีคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ พุทธศักราช ๒๔๘๑ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ขณะยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระอนุชา ได้โดยเสด็จสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัตประเทศไทยครั้งแรก พร้อมด้วยพระราชชนนีศรีสังวาลย์และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา ถึงกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน

พุทธศักราช ๒๔๘๑ ประทับ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต การเสด็จนิวัตพระนครครั้งนี้คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลได้ประกาศสถาปนาพระอิสริยยศพระราชชนนีศรีสังวาลย์เป็น “สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์” ระหว่างที่ประทับอยู่ในพระนครเป็นเวลาประมาณ ๒ เดือน พระราชจริยวัตรและพระราชกรณียกิจของทุกพระองค์ โดยเฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๘ และสมเด็จพระอนุชาได้ผูกพันจิตใจ สร้างขวัญและความหวังไว้แก่ชาวไทยอย่างมั่นคง ครั้นถึงเดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๔๘๑ (นับเป็นปลายปี) จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประเทศ สวิตเซอร์แลนด์เพื่อทรงศึกษาต่อ

วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๘๘ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลนิวัตประเทศไทยเป็นครั้งที่ ๒ พร้อมด้วยสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาถึงกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๘๘ ประทับ ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๘๙ ทรงได้รับพระราชทานพระยศร้อยโทนายทหารพิเศษประจำกรมทหารราบที่ ๑ กองพันที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะประทับในประเทศไทยได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรทั้งในพระนครและจังหวัดใกล้เคียงเสมอ ต่อมา เมื่อสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคตลงอย่างกะทันหัน เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ รัฐบาลได้กราบบังคมทูลอัญเชิญพระองค์ขึ้นครองราชย์สืบสันตติวงศ์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ แต่โดยที่ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ จึงต้องมีคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ชั่วคราว และได้มีประกาศเฉลิมพระปรมาภิไธยเมื่อวันที่ ๑๑ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ ว่า “สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช” ขณะนั้นทรงเจริญพระชนมพรรษา ๑๘ พรรษา

เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๙๐ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงเจริญพระชนมพรรษา ๒๐ พรรษาบริบูรณ์ ในโอกาสที่ทรงบรรลุนิติภาวะแล้วนี้ ทางรัฐบาลไทยโดยพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัติ(๑)เสด็จไปยังเมืองโลซานเพื่อเข้าฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทกราบบังคมทูลเชิญให้เสด็จนิวัตพระนครเพื่อประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก แต่ทรงขอให้งดพระราชพิธีไว้ก่อนจนกว่าจะทรงสำเร็จการศึกษา

๑ พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๔