ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่7"

แถว 18: แถว 18:
 
=== ===
 
=== ===
 
<div id="century">
 
<div id="century">
<div style="float:left">
+
<div id="lcentury">
 
<gallery>
 
<gallery>
 
Image:ทศ7-42.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๗<br />วันที่ ๘-๙ เมษายน เสด็จฯ ไปยังประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว
 
Image:ทศ7-42.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๗<br />วันที่ ๘-๙ เมษายน เสด็จฯ ไปยังประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว
แถว 24: แถว 24:
 
</gallery>
 
</gallery>
 
</div>
 
</div>
<div style="float:left; padding-left:5px">'''สายสัมพันธ์ ๒ แผ่นดิน : ศูนย์ศึกษาการพัฒนา<br />และบริการด้านการเกษตรห้วยซอน-ห้วยซั้ว'''
+
<div id="rcentury">'''สายสัมพันธ์ ๒ แผ่นดิน : ศูนย์ศึกษาการพัฒนา<br />และบริการด้านการเกษตรห้วยซอน-ห้วยซั้ว'''
  
 
<div class="kindent">เสด็จพระราชดำเนินไปในพิธีเปิดอาคารโครงการ<br />ศูนย์ศึกษาการพัฒนาและบริการด้านการเกษตรห้วย<br />ซอน-ห้วยซ้ำ บ้านนายาง อำเภอทรายทอง แขวงนคร<br />เวียงจันทน์ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย<br />ประชาชนลาว
 
<div class="kindent">เสด็จพระราชดำเนินไปในพิธีเปิดอาคารโครงการ<br />ศูนย์ศึกษาการพัฒนาและบริการด้านการเกษตรห้วย<br />ซอน-ห้วยซ้ำ บ้านนายาง อำเภอทรายทอง แขวงนคร<br />เวียงจันทน์ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย<br />ประชาชนลาว

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:07, 18 มีนาคม 2551

ตราสัญลักษณ์80ปี.jpg


ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)

ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)

ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)

ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)

ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)

ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)

ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)

ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)

ทศวรรษที่ ๗ ทรงสาธิตแนวทางแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ น้ำ ดิน ป่า (พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)


...ฝันว่ากรุงเทพฯ เป็นไดโนเสาร์ ซึ่งตามทฤษฎีกล่าวว่า ไดโนเสาร์ตายเพราะลูกอุกกาบาตตกลงมา
แต่ทฤษฎีที่คิดนั้นคิดว่าที่ไดโนเสาร์ตาย เพราะมันกินต้นไม้จนหมด จนทำให้สภาพแวดล้อมเป็นพิษ
ไม่มีออกซิเจนและไม่มีอาหาร ไดโนเสาร์จึง "อัดใจตายและสูญพันธุ์" สภาพแวดล้อมเป็นพิษเช่นนี้
เป็นภัยต่อมนุษยชาติ มนุษยชาตินี้คือเมือง เมืองไดโนเสาร์คือกรุงเทพฯ กรุงเทพฯ เป็นเมืองใหญ่
จึงเป็นไดโนเสาร์ตัวใหญ่ที่ต่อไปจะอยู่ไม่ได้ ส่วนเมืองเล็กเช่นสกลนครนี้ ยังเป็นไดโนเสาร์ตัวเล็ก หรือจิ้งจก
ซึ่งจะอยู่ได้ต่อไปหากทำการแก้ไขทัน...


พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๒


เนื้อหา

สายสัมพันธ์ ๒ แผ่นดิน : ศูนย์ศึกษาการพัฒนา
และบริการด้านการเกษตรห้วยซอน-ห้วยซั้ว
เสด็จพระราชดำเนินไปในพิธีเปิดอาคารโครงการ
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาและบริการด้านการเกษตรห้วย
ซอน-ห้วยซ้ำ บ้านนายาง อำเภอทรายทอง แขวงนคร
เวียงจันทน์ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว

"...พูดถึงประชาชนอย่างนี้ ไม่ได้พูดว่าประชาชน
ไทยหรือลาว เพราะว่าถ้าประที่ไหนก็ตาม ประเทศไหน
ก็ตาม มีความอยู่เย็นเป็นสุข สันติสุข หรือความสงบก็จะ
เกิดขึ้นไม่เจาะจงว่าประเทศไทยหรือประเทศลาว..."

ใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ : โครงการแก้มลิง
"...เมื่ออายุ ๕ ขวบ มีลิงเอากล้วยไปให้มันก็เคี้ยว
แล้วใส่ในแก้ม ตกลง "โครงการแก้มลิง" นี้มีที่เกิด เมื่อเรา
อายุ ๕ ขวบ ก็นี่เป็นเวลา ๖๓ ปีมาแล้ว ลิงสมัยโน้นลิง
โบราณเขาก็มีแก้มลิงแล้ว เขาเคี้ยว แล้วเอาเข้าไปเก็บใน
แก้ม น้ำท่วมลงมา ถ้าไม่ทำ "โครงการแก้มลิง" น้ำท่วมนี้จะ
เปรอะไปหมด อย่างนี้เปรอะไปทั่วภาคกลางจะต้องทำ
"แก้มลิง" เพื่อที่จะเอาน้ำนี้ไปเก็บไว้..."


พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘
เกี่ยวกับโครงการแก้มลิง ที่นำมาใช้แก้ไขปัญหาน้ำท่วม
ในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา





ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"

จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ