ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมวดหมู่:การแพทย์และสาธารณสุข"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) (สร้างหน้าใหม่: <center><h1>การแพทย์และสาธารณสุขเพื่อรากฐานอันแข็งแกร่ง</h1></center> <...) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
<center><h1>การแพทย์และสาธารณสุขเพื่อรากฐานอันแข็งแกร่ง</h1></center> | <center><h1>การแพทย์และสาธารณสุขเพื่อรากฐานอันแข็งแกร่ง</h1></center> | ||
− | <div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงปฏิบัติพระราชภารกิจด้านการแพทย์และสาธารณสุขอย่างต่อเนื่องยาวนาน ด้วยทรงห่วงใยในสุขภาพอนามัยของเหล่าพสกนิกร | + | <div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงปฏิบัติพระราชภารกิจด้านการแพทย์และสาธารณสุขอย่างต่อเนื่องยาวนาน ด้วยทรงห่วงใยในสุขภาพอนามัยของเหล่าพสกนิกร โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่อาศัยอยู่ในถิ่นทุรกันดาร ห่างไกลจากการบริการสาธารณสุขมูลฐานของภาครัฐ ทรงก่อตั้งและส่งเสริมให้งานด้านการแพทย์และสาธารณสุขสามารถกระจายไปทั่วประเทศได้อย่างทั่วถึงและเข้าถึง รวมทั้งทรงสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขให้มีความก้าวหน้า มีศักยภาพที่สูงขึ้น ด้วยพระมหากรุณาธิคุณนี้ ทำให้การแพทย์และสาธารณสุขของไทยเป็นรากฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศ ที่ไม่เพียงแต่สามารถให้บริการแก่ประชาชนในประเทศได้ดียิ่งขึ้นทุกขณะ แต่วิทยาการต่างๆ ตลอดจนคุณภาพของแพทย์ไทยยังได้มาตรฐานสากลจนเป็นที่ยอมรับในสายตาของชาวโลกอย่างเต็มภาคภูมิ |
− | |||
− | + | [[ภาพ:011009-การแพทย์-01.jpg|center|300px]] | |
− | “...การแพทย์และการสาธารณสุขเป็นพื้นฐานที่สำคัญอย่างหนึ่งของการพัฒนาประเทศ. ไม่มีประเทศใดในโลกจะเจริญก้าวหน้าได้อย่างสมบูรณ์แบบ หากประชากรในประเทศนั้นๆ ยังมีสุขภาพพลานามัยไม่ดีพอ...” | + | <h3>ทรงสืบสานพระราชปณิธานเพื่อพัฒนาการแพทย์และสาธารณสุขไทย</h3> |
+ | |||
+ | <span class="kgreen">“...การแพทย์และการสาธารณสุขเป็นพื้นฐานที่สำคัญอย่างหนึ่งของการพัฒนาประเทศ. ไม่มีประเทศใดในโลกจะเจริญก้าวหน้าได้อย่างสมบูรณ์แบบ หากประชากรในประเทศนั้นๆ ยังมีสุขภาพพลานามัยไม่ดีพอ...”</span> | ||
พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพิธีพระราชทานรางวัลมหิดล ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๙ ณพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท วันที่ ๓๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๔๐ | พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพิธีพระราชทานรางวัลมหิดล ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๙ ณพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท วันที่ ๓๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๔๐ | ||
− | พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชสมภพในราชสกุลที่ให้ความสำคัญต่อการแพทย์และสาธารณสุขเป็นสำคัญ ด้วยมีสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกทรงศึกษาด้านการแพทย์และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงศึกษาด้านการพยาบาลและการสาธารณสุข และมีสมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าทรงเป็นสภานายิกา สภากาชาดไทย ทำให้ทรงได้รับการถวายอภิบาลอย่างเคร่งครัดด้านสุขอนามัย จนกล่าวได้ว่า ทรงได้รับการวางรากฐานเป็นอย่างดีในการตระหนักถึงความสำคัญของสุขอนามัย จวบจนเมื่อเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยม | + | พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชสมภพในราชสกุลที่ให้ความสำคัญต่อการแพทย์และสาธารณสุขเป็นสำคัญ ด้วยมีสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกทรงศึกษาด้านการแพทย์และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงศึกษาด้านการพยาบาลและการสาธารณสุข และมีสมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าทรงเป็นสภานายิกา สภากาชาดไทย ทำให้ทรงได้รับการถวายอภิบาลอย่างเคร่งครัดด้านสุขอนามัย จนกล่าวได้ว่า ทรงได้รับการวางรากฐานเป็นอย่างดีในการตระหนักถึงความสำคัญของสุขอนามัย |
+ | |||
+ | จวบจนเมื่อเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยม | ||
ราษฎรในท้องถิ่นต่างๆ ทั่วประเทศ ได้ทอดพระเนตรสภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ทุกข์ยากแร้นแค้นของราษฎร ในพื้นที่ห่างไกล สุขภาพอนามัยมีความเสื่อมโทรมไปทุกด้าน ทั้งถูกโรคต่างๆ รุมเร้าจนเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน สาเหตุจากความขาดแคลนทั้งอาหารและการรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง จนต้องปล่อยให้ร่างกายทุพพลภาพหรือเจ็บป่วยถึงขั้นเสียชีวิต รวมทั้งขาดโอกาสที่จะได้รับบริการสาธารณสุขมูลฐานด้านต่างๆ จากรัฐ | ราษฎรในท้องถิ่นต่างๆ ทั่วประเทศ ได้ทอดพระเนตรสภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ทุกข์ยากแร้นแค้นของราษฎร ในพื้นที่ห่างไกล สุขภาพอนามัยมีความเสื่อมโทรมไปทุกด้าน ทั้งถูกโรคต่างๆ รุมเร้าจนเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน สาเหตุจากความขาดแคลนทั้งอาหารและการรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง จนต้องปล่อยให้ร่างกายทุพพลภาพหรือเจ็บป่วยถึงขั้นเสียชีวิต รวมทั้งขาดโอกาสที่จะได้รับบริการสาธารณสุขมูลฐานด้านต่างๆ จากรัฐ | ||
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:31, 1 ตุลาคม 2552
การแพทย์และสาธารณสุขเพื่อรากฐานอันแข็งแกร่ง
ทรงสืบสานพระราชปณิธานเพื่อพัฒนาการแพทย์และสาธารณสุขไทย
“...การแพทย์และการสาธารณสุขเป็นพื้นฐานที่สำคัญอย่างหนึ่งของการพัฒนาประเทศ. ไม่มีประเทศใดในโลกจะเจริญก้าวหน้าได้อย่างสมบูรณ์แบบ หากประชากรในประเทศนั้นๆ ยังมีสุขภาพพลานามัยไม่ดีพอ...”
พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพิธีพระราชทานรางวัลมหิดล ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๙ ณพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท วันที่ ๓๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๔๐
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชสมภพในราชสกุลที่ให้ความสำคัญต่อการแพทย์และสาธารณสุขเป็นสำคัญ ด้วยมีสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกทรงศึกษาด้านการแพทย์และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงศึกษาด้านการพยาบาลและการสาธารณสุข และมีสมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าทรงเป็นสภานายิกา สภากาชาดไทย ทำให้ทรงได้รับการถวายอภิบาลอย่างเคร่งครัดด้านสุขอนามัย จนกล่าวได้ว่า ทรงได้รับการวางรากฐานเป็นอย่างดีในการตระหนักถึงความสำคัญของสุขอนามัย
จวบจนเมื่อเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยม ราษฎรในท้องถิ่นต่างๆ ทั่วประเทศ ได้ทอดพระเนตรสภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ทุกข์ยากแร้นแค้นของราษฎร ในพื้นที่ห่างไกล สุขภาพอนามัยมีความเสื่อมโทรมไปทุกด้าน ทั้งถูกโรคต่างๆ รุมเร้าจนเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน สาเหตุจากความขาดแคลนทั้งอาหารและการรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง จนต้องปล่อยให้ร่างกายทุพพลภาพหรือเจ็บป่วยถึงขั้นเสียชีวิต รวมทั้งขาดโอกาสที่จะได้รับบริการสาธารณสุขมูลฐานด้านต่างๆ จากรัฐ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงความสำคัญของสุขภาพพลานามัยของพสกนิกร เมื่อร่างกายแข็งแรงก็จะสามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองและครอบครัวได้ อันจะนำไปสู่การดำเนินกิจกรรมเพื่อทำประโยชน์แก่สังคมและประเทศชาติต่อไป จึงทรงอุทิศเวลาพระราชทรัพย์ และกำลังพระวรกาย เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาด้านการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อสืบทอดเจตนารมณ์ของสมเด็จพระบรมราชชนกและสมเด็จพระบรมราชชนนี ที่ทรงวางรากฐานการแพทย์และสาธารณสุขสมัยใหม่ให้แก่ประเทศไทย
หน้าในหมวดหมู่ "การแพทย์และสาธารณสุข"
6 หน้าต่อไปนี้อยู่ในหมวดหมู่นี้ จากทั้งหมด 6 หน้า