ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมาชิกฯ-สถาบันการดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนา"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) ล (Wikipedia python library) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 12 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
+ | <div id="king"> | ||
+ | <center><h5>(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)</h5><br>'''คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช<br>ในโอกาสที่สถาบันการ[[ดนตรี]]และ[[ศิลปะ]]แห่งกรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย'''<br> | ||
+ | '''กราบบังคมทูลเชิญให้ทรงดำรงตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์<br>และทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายประกาศนียบัตรสมาชิกกิตติมศักดิ์<br>ณ สถาบันการดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนา<br>วันจันทร์ ที่ ๕ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๐๗'''</center> | ||
+ | </div> | ||
+ | <div id="king2"> | ||
− | [[Category: | + | ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม |
+ | <div class="kindent">ข้าพระพุทธเจ้าขอพระราชทานกราบบังคมทูลรับเสด็จใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทในนามของสถาบันการดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนา นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ เป็นล้นพ้นที่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทเสด็จพระราชดำเนินมาทรงเยือนในโอกาสพิเศษนี้ เป็นครั้งแรกและครั้งพิเศษในประวัติศาสตร์ของสถาบันการดนตรีและศิลปะซึ่งมี อายุร่วม ๑๕๐ ปี ที่ได้เฉลิมพระเกียรติพระประมุขแห่งมิตรประเทศของข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลาย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ แห่งประเทศไทย ทรงพระปรีชาสามารถด้าน[[ดนตรี]]ของประเทศพระองค์ ซึ่งมีที่ตั้งทางภูมิศาสตร์อันสำคัญต่อการเมืองโลก มีประวัติความเป็นมาทางวัฒนธรรมที่เฟื่องฟู ด้วยงาน[[ศิลปะ]]อันวิจิตรงดงาม และนำเสนอสิ่งที่ชวนหลงใหลและน่าสนใจด้านการดนตรีและศิลปะการฟ้อนรำแก่ชาวโลก ทั้งสองพระองค์ทางศึกษาการดนตรีในยุโรป จนเชี่ยวชาญ ทรงเป็นนักดนตรีมืออาชีพที่ทรงได้ทั้งประเภทเครื่องเป่าและเปียนโน ทั้งยังทรงพระปรีชาสามารถใน[[การประพันธ์เพลง]] นักวิจารณ์แห่งกรุงเวียนนายกย่องว่า พระราชนิพนธ์ด้านดนตรีแห่งพระองค์นำให้หวนระลึกถึงยุคสมัยแห่งความเฟื่องฟูของอุปรากรแห่งกรุงเวียนนา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถนั้นเล่าก็ทรงเป็น นักเปียนโนที่ทรงพระปรีชาสามารถยิ่ง | ||
+ | |||
+ | ในช่วงเวลาที่ประเทศในยุโรปกลางยังมีเยาวชนไม่ถึงหนึ่งในสามที่เล่นเครื่องดนตรีเป็น และแทบจะหาคนรุ่นใหม่มาสืบสานศิลปะการดนตรีประเภทวงออเคสตรา ได้ยาก อีกทั้งการเล่นดนตรีตามบ้านก็ซบเซา และโรงเรียนทีให้[[การศึกษา]]ทั่วไปไม่อาจจัดสอนวิชาดนตรีอย่างสม่ำเสมอได้ ในช่วงเวลานั้นเอง พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงแสดงให้พสกนิกรของพระองค์และชาวโลกเห็นประจักษ์ว่า การเล่นดนตรีอย่างจริงจังนั้นช่วยให้ประชาชน ทุกชนชั้นมีความสุขและลืมสภาวะจำเจในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าสถานะทางสังคมจะเป็นเช่นไร เหนือสิ่งใด ปวงข้าพระพุทธเจ้าตระหนักได้จากพระราชจริยวัตรว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็น [[ผู้นำ]]ชั้นเลิศของ ประชาชนชาวไทย และชาวโลกในด้าน[[การศึกษา]]ดนตรี และแม้ว่าจะเป็นพื้นฐานการดนตรีของโลกตะวันตก แต่ก็ไม่ได้ทรงปฏิเสธ รากฐานการดนตรีของไทย ทรงแสดงให้ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายตระหนักว่า สนพระราชหฤทัยที่จะกระชับความสัมพันธ์ด้าน ดนตรีอย่างแน่นแฟ้นกับประเทศออสเตรีย มีพระราชประสงค์ จะให้สถาบันการดนตรีและศิลปะแห่งนี้เป็นต้นแบบ และแหล่งข้อมูลสำหรับวิทยาลัย ดนตรีในลักษณะเดียวกันในประเทศของพระองค์ และมีพระราชประสงค์ที่จะ เชิญบัณฑิตผู้มีพรสวรรค์จากวิทยาลัยแห่งนี้ รวมทั้งจะพระราชทานการสนับสนุน ในด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา ระหว่างสองสถาบันในทุกรูปแบบอีกด้วย ท่านสุภาพบุรุษและสุภาพสตรี ณ ที่นี้ ต่างทราบดีว่า เป้าหมายหลักประการหนึ่งของสภาดนตรีนานาชาติองค์[[การศึกษา]][[วิทยาศาสตร์]] และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ คือ การสร้างสายสัมพันธ์เพื่อเชื่อมโยงดนตรีของโลกตะวันออกกับโลกตะวันตกในยุคสมัยใหม่ พระราชปณิธานจึงเป็นเสมือนเสาหลักสำคัญ ของการสร้างสายสัมพันธ์ดังกล่าว ปวงข้าพระพุทธเจ้าซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น ในพระราชจริยวัตรอันโดดเด่นที่ส่งเสริมความสัมพันธ์ทั้งด้านการเมืองและวัฒนธรรมเช่นนี้ | ||
+ | |||
+ | การที่สถาบันการดนตรีและศิลปะพึงแสดงความชื่นชมโสมนัสและเฉลิมฉลองสิ่งที่ดีงามดังกล่าว เป็นสิ่งที่พึงกระทำเป็นธรรมดา เพราะสถาบันการดนตรีและศิลปะ เป็นมหาวิทยาลัยการดนตรีแห่งแรกของประเทศ ด้วยเหตุผลทางประวัติศาสตร์ด้านวัฒนธรรมและสภาพทางภูมิศาสตร์ สถาบันแห่งนี้ตั้งอยู่ระหว่างตะวันออกกับ ตะวันตก จึงได้ตั้งเป้าหมายหลักมาอย่างต่อเนื่องว่า จะเป็นสื่อกลางด้านวัฒนธรรมระหว่างโลกตะวันออกกับโลกตะวันตก อีกทั้งจะช่วยแนะนำและส่งเสริม ความเข้าใจอันดี ตลอดจนสร้างเสริมโอกาสให้เกิดการแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันในทุกๆ ด้านอีกด้วย ข้าพระพุทธเจ้าขอขอบคุณคณะกรรมการผู้ทรงเกียรติที่ได้ลงมติ เป็นเอกฉันท์ โดยความเห็นชอบของกระทรวงศึกษาธิการ ให้กราบบังคมทูลเชิญ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้ทรงดำรงตำแหน่ง สมาชิกกิตติมศักดิ์ของสถาบันการดนตรีและศิลปะ แห่งนี้ ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายประกาศนียบัตรสมาชิกกิตติมศักดิ์นี้ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นเกียรติแก่ ปวงข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ในโอกาสเดียวกันนี้ ข้าพระพุทธเจ้า และในนามของคณาจารย์และนักศึกษาของสถาบันแห่งนี้ ขอพระราชทานถวายพระพรชัยมงคล แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ให้ทรงพระเกษมสำราญยิ่งยืนนาน สุดท้ายนี้ ข้าพระพุทธเจ้าใคร่ขอแสดงความยินดี ในความเจริญรุ่งเรือง ของการดนตรีในประเทศไทย และขอให้สัมพันธภาพระหว่างประเทศของใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท และมาตุภูมิของข้าพเจ้าทั้งหลายแน่นแฟ้นยิ่งๆ ขึ้นไป | ||
+ | |||
+ | |||
+ | |||
+ | <br> | ||
+ | |||
+ | <p align="right" style="margin-right: 20%;">ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ</p> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | |||
+ | ---- | ||
+ | |||
+ | |||
+ | |||
+ | [[ภาพ:สถาบันการดนตรีเวียนนา1.jpg|ประธานสถาบันการดนตรีและศิลปะกรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย กราบบังคมทูลเชิญให้ทรงดำรงตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ | ||
+ | และทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายประกาศนียบัตรสมาชิกกิตติมศักดิ์|center]] | ||
+ | <center> ประธานสถาบันการ[[ดนตรี]]และ[[ศิลปะ]]กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย กราบบังคมทูลเชิญให้ทรงดำรงตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์<br> | ||
+ | และทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายประกาศนียบัตรสมาชิกกิตติมศักดิ์ ณ สถาบันการ[[ดนตรี]]และ[[ศิลปะ]]กรุงเวียนนา<br> เมื่อวันจันทร์ ที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๐๗</center> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | [[ภาพ:สถาบันการดนตรีเวียนนา2.jpg|รายชื่อสมาชิกกิตติมศักดิ์ของสถาบัน|center]] | ||
+ | <center>รายชื่อสมาชิกกิตติมศักดิ์ของสถาบันการ[[ดนตรี]]และ[[ศิลปะ]]กรุงเวียนนา | ||
+ | </center> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | [[ภาพ:สถาบันการดนตรีเวียนนา3.jpg|ประกาศนียบัตรสมาชิกกิตติมศักดิ์ที่สถาบันการดนตรีและศิลปะกรุงเวียนนาทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย|center]] | ||
+ | <center> ประกาศนียบัตรสมาชิกกิตติมศักดิ์ที่สถาบันการ[[ดนตรี]]และ[[ศิลปะ]]กรุงเวียนนาทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย</center> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | [[ภาพ:สถาบันการดนตรีเวียนนา4.jpg|พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ช่างภาพฉายพระบรมฉายาลักษณ์กับประกาศนียบัตรสมาชิกกิตติมศักดิ์|center]] | ||
+ | <center>พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ช่างภาพฉายพระบรมฉายาลักษณ์กับประกาศนียบัตรสมาชิกกิตติมศักดิ์<br>ของสถาบันการ[[ดนตรี]]และ[[ศิลปะ]]กรุงเวียนนา | ||
+ | </center> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | ---- | ||
+ | |||
+ | {{แม่แบบ:เมนูประมวลคำสดุดี}} | ||
+ | |||
+ | [[หมวดหมู่:สมาชิกฯ]] | ||
+ | [[Category: ศิลปวัฒนธรรม]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:21, 18 พฤศจิกายน 2551
(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)
คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ในโอกาสที่สถาบันการดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย
กราบบังคมทูลเชิญให้ทรงดำรงตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์
และทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายประกาศนียบัตรสมาชิกกิตติมศักดิ์
ณ สถาบันการดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนา
วันจันทร์ ที่ ๕ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๐๗
ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม
ในช่วงเวลาที่ประเทศในยุโรปกลางยังมีเยาวชนไม่ถึงหนึ่งในสามที่เล่นเครื่องดนตรีเป็น และแทบจะหาคนรุ่นใหม่มาสืบสานศิลปะการดนตรีประเภทวงออเคสตรา ได้ยาก อีกทั้งการเล่นดนตรีตามบ้านก็ซบเซา และโรงเรียนทีให้การศึกษาทั่วไปไม่อาจจัดสอนวิชาดนตรีอย่างสม่ำเสมอได้ ในช่วงเวลานั้นเอง พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงแสดงให้พสกนิกรของพระองค์และชาวโลกเห็นประจักษ์ว่า การเล่นดนตรีอย่างจริงจังนั้นช่วยให้ประชาชน ทุกชนชั้นมีความสุขและลืมสภาวะจำเจในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าสถานะทางสังคมจะเป็นเช่นไร เหนือสิ่งใด ปวงข้าพระพุทธเจ้าตระหนักได้จากพระราชจริยวัตรว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็น ผู้นำชั้นเลิศของ ประชาชนชาวไทย และชาวโลกในด้านการศึกษาดนตรี และแม้ว่าจะเป็นพื้นฐานการดนตรีของโลกตะวันตก แต่ก็ไม่ได้ทรงปฏิเสธ รากฐานการดนตรีของไทย ทรงแสดงให้ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายตระหนักว่า สนพระราชหฤทัยที่จะกระชับความสัมพันธ์ด้าน ดนตรีอย่างแน่นแฟ้นกับประเทศออสเตรีย มีพระราชประสงค์ จะให้สถาบันการดนตรีและศิลปะแห่งนี้เป็นต้นแบบ และแหล่งข้อมูลสำหรับวิทยาลัย ดนตรีในลักษณะเดียวกันในประเทศของพระองค์ และมีพระราชประสงค์ที่จะ เชิญบัณฑิตผู้มีพรสวรรค์จากวิทยาลัยแห่งนี้ รวมทั้งจะพระราชทานการสนับสนุน ในด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา ระหว่างสองสถาบันในทุกรูปแบบอีกด้วย ท่านสุภาพบุรุษและสุภาพสตรี ณ ที่นี้ ต่างทราบดีว่า เป้าหมายหลักประการหนึ่งของสภาดนตรีนานาชาติองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ คือ การสร้างสายสัมพันธ์เพื่อเชื่อมโยงดนตรีของโลกตะวันออกกับโลกตะวันตกในยุคสมัยใหม่ พระราชปณิธานจึงเป็นเสมือนเสาหลักสำคัญ ของการสร้างสายสัมพันธ์ดังกล่าว ปวงข้าพระพุทธเจ้าซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น ในพระราชจริยวัตรอันโดดเด่นที่ส่งเสริมความสัมพันธ์ทั้งด้านการเมืองและวัฒนธรรมเช่นนี้
การที่สถาบันการดนตรีและศิลปะพึงแสดงความชื่นชมโสมนัสและเฉลิมฉลองสิ่งที่ดีงามดังกล่าว เป็นสิ่งที่พึงกระทำเป็นธรรมดา เพราะสถาบันการดนตรีและศิลปะ เป็นมหาวิทยาลัยการดนตรีแห่งแรกของประเทศ ด้วยเหตุผลทางประวัติศาสตร์ด้านวัฒนธรรมและสภาพทางภูมิศาสตร์ สถาบันแห่งนี้ตั้งอยู่ระหว่างตะวันออกกับ ตะวันตก จึงได้ตั้งเป้าหมายหลักมาอย่างต่อเนื่องว่า จะเป็นสื่อกลางด้านวัฒนธรรมระหว่างโลกตะวันออกกับโลกตะวันตก อีกทั้งจะช่วยแนะนำและส่งเสริม ความเข้าใจอันดี ตลอดจนสร้างเสริมโอกาสให้เกิดการแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันในทุกๆ ด้านอีกด้วย ข้าพระพุทธเจ้าขอขอบคุณคณะกรรมการผู้ทรงเกียรติที่ได้ลงมติ เป็นเอกฉันท์ โดยความเห็นชอบของกระทรวงศึกษาธิการ ให้กราบบังคมทูลเชิญ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้ทรงดำรงตำแหน่ง สมาชิกกิตติมศักดิ์ของสถาบันการดนตรีและศิลปะ แห่งนี้ ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายประกาศนียบัตรสมาชิกกิตติมศักดิ์นี้ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นเกียรติแก่ ปวงข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ในโอกาสเดียวกันนี้ ข้าพระพุทธเจ้า และในนามของคณาจารย์และนักศึกษาของสถาบันแห่งนี้ ขอพระราชทานถวายพระพรชัยมงคล แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ให้ทรงพระเกษมสำราญยิ่งยืนนาน สุดท้ายนี้ ข้าพระพุทธเจ้าใคร่ขอแสดงความยินดี ในความเจริญรุ่งเรือง ของการดนตรีในประเทศไทย และขอให้สัมพันธภาพระหว่างประเทศของใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท และมาตุภูมิของข้าพเจ้าทั้งหลายแน่นแฟ้นยิ่งๆ ขึ้นไป
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
และทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายประกาศนียบัตรสมาชิกกิตติมศักดิ์ ณ สถาบันการดนตรีและศิลปะกรุงเวียนนา
เมื่อวันจันทร์ ที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๐๗
ของสถาบันการดนตรีและศิลปะกรุงเวียนนา
หน้าแรกประมวลคำสดุดีพระเกียรติคุณฯ | บัญชีปริญญาดุษฎีบัณฑิตฯ | บัญชีตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ฯ | บัญชีรางวัลฯ | พระราชกรณียกิจ |