ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่7"

 
(ไม่แสดง 31 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
<div style="display:inline-table; clear:both;float:left">
+
__NOTOC__
 +
<div style="display:inline-table;width:850px; clear:both;float:left">
 
<div style="display:table; float:left">
 
<div style="display:table; float:left">
 
{{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div>
 
{{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div>
<div style="display:table;float:left; padding-left:5px">'''ทศวรรษที่ ๗ ทรงสาธิตแนวทางแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ น้ำ ดิน ป่า (พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)
+
<div style="display:table;float:left;width:700px; padding-left:25px"><h1>ทศวรรษที่ ๗ ทรงสาธิตแนวทางแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ น้ำ ดิน ป่า (พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)</h1>
'''
 
  
  
<div class="kgreen" style="font-size:120%" align="center">...ฝันว่ากรุงเทพฯ เป็นไดโนเสาร์ ซึ่งตามทฤษฎีกล่าวว่า ไดโนเสาร์ตายเพราะลูกอุกกาบาตตกลงมา<br />แต่ทฤษฎีที่คิดนั้นคิดว่าที่ไดโนเสาร์ตาย เพราะมันกินต้นไม้จนหมด จนทำให้สภาพแวดล้อมเป็นพิษ<br />ไม่มีออกซิเจนและไม่มีอาหาร ไดโนเสาร์จึง "อัดใจตายและสูญพันธุ์" สภาพแวดล้อมเป็นพิษเช่นนี้<br />เป็นภัยต่อมนุษยชาติ มนุษยชาตินี้คือเมือง เมืองไดโนเสาร์คือกรุงเทพฯ กรุงเทพฯ เป็นเมืองใหญ่<br />จึงเป็นไดโนเสาร์ตัวใหญ่ที่ต่อไปจะอยู่ไม่ได้ ส่วนเมืองเล็กเช่นสกลนครนี้ ยังเป็นไดโนเสาร์ตัวเล็ก หรือจิ้งจก<br />ซึ่งจะอยู่ได้ต่อไปหากทำการแก้ไขทัน...
+
<div class="kgreen" align="center">...ฝันว่ากรุงเทพฯ เป็นไดโนเสาร์ ซึ่งตามทฤษฎีกล่าวว่า ไดโนเสาร์ตายเพราะลูกอุกกาบาตตกลงมา<br />แต่ทฤษฎีที่คิดนั้นคิดว่าที่ไดโนเสาร์ตาย เพราะมันกินต้นไม้จนหมด จนทำให้สภาพแวดล้อมเป็นพิษ<br />ไม่มีออกซิเจนและไม่มีอาหาร ไดโนเสาร์จึง "อัดใจตายและสูญพันธุ์" สภาพแวดล้อมเป็นพิษเช่นนี้<br />เป็นภัยต่อมนุษยชาติ มนุษยชาตินี้คือเมือง เมืองไดโนเสาร์คือกรุงเทพฯ กรุงเทพฯ เป็นเมืองใหญ่<br />จึงเป็นไดโนเสาร์ตัวใหญ่ที่ต่อไปจะอยู่ไม่ได้ ส่วนเมืองเล็กเช่นสกลนครนี้ ยังเป็นไดโนเสาร์ตัวเล็ก หรือจิ้งจก<br />ซึ่งจะอยู่ได้ต่อไปหากทำการแก้ไขทัน...
 
</div>
 
</div>
  
แถว 13: แถว 13:
 
พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว<br />
 
พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว<br />
 
จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๒
 
จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๒
 +
</div>
 +
 +
 +
=== ===
 +
<div id="century">
 +
<div id="lcentury">
 +
<gallery>
 +
Image:ทศ7-42.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๗<br />วันที่ ๘-๙ เมษายน เสด็จฯ ไปยังประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว
 +
Image:ทศ7-44.jpg|ภาพร่างฝีพระหัตถ์โครง การทฤษฎีใหม่
 +
</gallery>
 +
</div>
 +
<div id="rcentury">'''สายสัมพันธ์ ๒ แผ่นดิน : ศูนย์ศึกษาการพัฒนา<br />และบริการด้านการเกษตรห้วยซอน-ห้วยซั้ว'''
 +
 +
<div class="kindent">เสด็จพระราชดำเนินไปในพิธีเปิดอาคารโครงการ<br />ศูนย์ศึกษาการพัฒนาและบริการด้านการเกษตรห้วย<br />ซอน-ห้วยซ้ำ บ้านนายาง อำเภอทรายทอง แขวงนคร<br />เวียงจันทน์ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย<br />ประชาชนลาว
 +
</div>
 +
<div class="kindent" style="color:darkgreen">
 +
"...พูดถึงประชาชนอย่างนี้ ไม่ได้พูดว่าประชาชน  <br />ไทยหรือลาว เพราะว่าถ้าประที่ไหนก็ตาม ประเทศไหน<br />ก็ตาม มีความอยู่เย็นเป็นสุข สันติสุข หรือความสงบก็จะ<br />เกิดขึ้นไม่เจาะจงว่าประเทศไทยหรือประเทศลาว..."
 +
</div>
 +
 +
</div>
 +
 +
</div>
 +
 +
=== ===
 +
<div id="century">
 +
<div id="lcentury">
 +
<gallery>
 +
Image:ทศ7-48.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๘<br />โครงการแก้มลิง มีพระราชดำรัส เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘
 +
Image:ทศ7-49.jpg|
 +
</gallery>
 +
</div>
 +
<div id="rcentury">'''ใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ : โครงการแก้มลิง'''
 +
 +
<div class="kindent" style="color:darkgreen">
 +
"...เมื่ออายุ ๕ ขวบ มีลิงเอากล้วยไปให้มันก็เคี้ยว <br />แล้วใส่ในแก้ม ตกลง "โครงการแก้มลิง" นี้มีที่เกิด เมื่อเรา<br />อายุ ๕ ขวบ ก็นี่เป็นเวลา ๖๓ ปีมาแล้ว ลิงสมัยโน้นลิง<br />โบราณเขาก็มีแก้มลิงแล้ว เขาเคี้ยว แล้วเอาเข้าไปเก็บใน<br />แก้ม น้ำท่วมลงมา ถ้าไม่ทำ "โครงการแก้มลิง" น้ำท่วมนี้จะ<br />เปรอะไปหมด อย่างนี้เปรอะไปทั่วภาคกลางจะต้องทำ <br />"แก้มลิง" เพื่อที่จะเอาน้ำนี้ไปเก็บไว้..."</div>
 +
 +
 +
<div align="right">พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว <br />เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘ <br />เกี่ยวกับโครงการแก้มลิง ที่นำมาใช้แก้ไขปัญหาน้ำท่วม<br />ในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา</div>
 +
</div>
 +
 
</div>
 
</div>
  
แถว 31: แถว 71:
 
Image:ทศ7-14.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๓<br />วันที่ ๗ ตุลาคม เสด็จฯ ไปยัง โรงสกัดและแปรรูปน้ำมันปาล์ม
 
Image:ทศ7-14.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๓<br />วันที่ ๗ ตุลาคม เสด็จฯ ไปยัง โรงสกัดและแปรรูปน้ำมันปาล์ม
 
Image:ทศ7-15.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๑<br />วันที่ ๗ ตุลาคม เสด็จฯ ไปยัง[[ศูนย์ศึกษาการพัฒนา]] พิกุลทองฯ
 
Image:ทศ7-15.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๑<br />วันที่ ๗ ตุลาคม เสด็จฯ ไปยัง[[ศูนย์ศึกษาการพัฒนา]] พิกุลทองฯ
Image:ทศ7-16.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๓<br />วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรสภาพภูมิ ประเทศ ที่จะก่อสร้างอ่างเก็บน้ำ ห้วยปลวก และอ่างเก็บน้ำห้วยพงโพด กิ่งอำเภอเจริญศิลป์ จังหวัดสกลนคร พระราชทานพระราชดำริให้ จัดหาน้ำเพื่อช่วยเหลือราษฎร ชาวจังหวัดสกลนคร
+
Image:ทศ7-16.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๓<br />วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรสภาพภูมิ ประเทศ ที่จะก่อสร้างอ่างเก็บน้ำ ห้วยปลวก และอ่างเก็บน้ำห้วย พงโพด กิ่งอำเภอเจริญศิลป์ จังหวัดสกลนคร พระราชทานพระราชดำริให้ จัดหาน้ำเพื่อช่วยเหลือราษฎร ชาวจังหวัดสกลนคร
 
Image:ทศ7-17.jpg|
 
Image:ทศ7-17.jpg|
 
Image:ทศ7-18.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๔<br />วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน เสด็จฯ ไปยังโครงการพัฒนาลุ่มน้ำ ลำพะยังตอนบน จังหวัดกาฬสินธุ์
 
Image:ทศ7-18.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๔<br />วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน เสด็จฯ ไปยังโครงการพัฒนาลุ่มน้ำ ลำพะยังตอนบน จังหวัดกาฬสินธุ์
แถว 39: แถว 79:
 
</gallery>
 
</gallery>
  
 +
 +
=== ===
 +
 +
<gallery>
 +
Image:ทศ7-26.jpg|วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๓๕ เสด็จฯ ไปยังอำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
 +
Image:ทศ7-27.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๕<br />วันที่ ๙ ตุลาคม เสด็จฯ ไปยัง โครงการชลประทานมูโนะ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดนราธิวาส
 +
Image:ทศ7-28.jpg|
 +
Image:ทศ7-29.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๕<br />วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรนาข้าวของ เกษตรกร อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์
 +
Image:ทศ7-30.jpg|วันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๓๕ เสด็จฯ ไปยังโครงการพัฒนา พื้นที่แม่อาวอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ จังหวัดลำพูน
 +
Image:ทศ7-31.jpg|วันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๓๕ เสด็จฯ ไปยังโครงการพัฒนา พื้นที่แม่อาวอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ จังหวัดลำพูน
 +
Image:ทศ7-32.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๕<br />วันที่ ๑๙  มีนาคม ทรงประทับ รถม้าพระที่นั่ง ภายในบริเวณ พระตำหนักปางตอง ตำบลหมอกจำแป๋ อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
 +
Image:ทศ7-33.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๕<br />เสด็จฯ ไปยัง[[ศูนย์ศึกษาการพัฒนา|ศูนย์ศึกษาการ พัฒนา]]ห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเชียงใหม่
 +
Image:ทศ7-34.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๖
 +
Image:ทศ7-35.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๖<br />วันที่ ๑๗ ตุลาคม เสด็จฯ ไปยังโครงการพรุแฆแฆ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดปัตตานี
 +
Image:ทศ7-36.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๖<br />วันที่ ๗ ตุลาคม เสด็จฯ ไปยังโครงการพรุแฆแฆ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดปัตตานี
 +
</gallery>
 +
 +
 +
<div align="right">[http://www.haii.or.th/wiki/index.php/ทศวรรษที่7 กลับด้านบน]</div>
 +
 +
=== ===
 +
 +
<gallery>
 +
Image:ทศ7-37.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๖<br />วันที่ ๑๔ ตุลาคม ทรงทอด พระเนตรแปลงทดลองปลูกข้าว ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดนราธิวาส
 +
Image:ทศ7-38.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๖<br />วันที่ ๒๘ กันยายน เสด็จฯ ไป ยังบริเวณอาคารบังคับน้ำ บางเตย ๕ ในเขตโครงการ พัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำบางนรา อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดนราธิวาส
 +
Image:ทศ7-39.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๖<br />วันที่ ๑๔ ตุลาคม เสด็จฯ ไปทรงงานในศูนย์ศึกษา การพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมา จากพระราชดำริ จังหวัดนราธิวาส
 +
Image:ทศ7-40.jpg|
 +
Image:ทศ7-41.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๖<br />วันที่ ๒๕ มกราคม เสด็จฯ ไปยังแปลง[[ทฤษฎีใหม่]] วัดมงคลชัยพัฒนา จังหวัดสระบุรี
 +
Image:ทศ7-43.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๗<br />วันที่ ๘-๙ เมษายน เสด็จฯ ไปยังประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว
 +
Image:ทศ7-45.jpg|วันที่ ๘ เมษายน เสด็จฯ ไปยังศูนย์ศึกษาการพัฒนาและ บริหารด้านการเกษตรห้วยซอน- ห้วยซั้ว
 +
Image:ทศ7-46.jpg|
 +
Image:ทศ7-47.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๗<br /> โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำห้วย บางทรายตอนบน จังหวัดมุกดาหาร
 +
Image:ทศ7-50.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๘<br />พระราชทานพระราดำริโครงการ ทางคู่ขนานลอยฟ้าถนนบรม ราชชนนี
 +
Image:ทศ7-51.jpg|[[การคมนาคม|ดูข้อมูลเกี่ยวข้อง]]
 +
Image:ทศ7-52.jpg|
 +
</gallery>
 +
 +
=== ===
 +
 +
<gallery>
 +
Image:ทศ7-53.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๙<br />วันที่ ๙ สิงหาคม เสด็จฯ ไปยังอุทยานปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
 +
Image:ทศ7-54.jpg|
 +
Image:ทศ7-55.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๙<br />วันที่ ๑๕ กรกฎาคม เสด็จฯ ไป ยังโครงการศึกษาวิธีการฟื้นฟู ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้ม อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดราชบุรี
 +
Image:ทศ7-56.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๙<br />วันที่ ๖ กันยายน เสด็จฯ ไปยัง [[ศูนย์ศึกษาการพัฒนา]]ห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเพชรบุรี
 +
Image:ทศ7-57.jpg|
 +
Image:ทศ7-58.jpg|
 +
Image:ทศ7-59.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๙<br />วันที่ ๕ ตุลาคม เสด็จฯ ไปยัง บ้านยูโย จังหวัดนราธิวาส
 +
Image:ทศ7-60.jpg|
 +
Image:ทศ7-61.jpg|
 +
Image:ทศ7-62.jpg|
 +
Image:ทศ7-63.jpg|
 +
Image:ทศ7-64.jpg|
 +
Image:ทศ7-65.jpg|
 +
Image:ทศ7-66.jpg|
 +
Image:ทศ7-67.jpg|
 +
Image:ทศ7-68.jpg|
 +
</gallery>
 +
 +
 +
<div align="right">[http://www.haii.or.th/wiki/index.php/ทศวรรษที่7 กลับด้านบน]</div>
 
</div>
 
</div>
  
แถว 45: แถว 145:
 
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.4}}
 
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.4}}
 
</div>
 
</div>
 +
 +
[[หมวดหมู่:๘ ทศวรรษแห่งการพัฒนา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:42, 7 พฤศจิกายน 2561

ตราสัญลักษณ์80ปี.jpg


ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)

ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)

ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)

ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)

ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)

ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)

ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)

ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)

ทศวรรษที่ ๗ ทรงสาธิตแนวทางแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ น้ำ ดิน ป่า (พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)


...ฝันว่ากรุงเทพฯ เป็นไดโนเสาร์ ซึ่งตามทฤษฎีกล่าวว่า ไดโนเสาร์ตายเพราะลูกอุกกาบาตตกลงมา
แต่ทฤษฎีที่คิดนั้นคิดว่าที่ไดโนเสาร์ตาย เพราะมันกินต้นไม้จนหมด จนทำให้สภาพแวดล้อมเป็นพิษ
ไม่มีออกซิเจนและไม่มีอาหาร ไดโนเสาร์จึง "อัดใจตายและสูญพันธุ์" สภาพแวดล้อมเป็นพิษเช่นนี้
เป็นภัยต่อมนุษยชาติ มนุษยชาตินี้คือเมือง เมืองไดโนเสาร์คือกรุงเทพฯ กรุงเทพฯ เป็นเมืองใหญ่
จึงเป็นไดโนเสาร์ตัวใหญ่ที่ต่อไปจะอยู่ไม่ได้ ส่วนเมืองเล็กเช่นสกลนครนี้ ยังเป็นไดโนเสาร์ตัวเล็ก หรือจิ้งจก
ซึ่งจะอยู่ได้ต่อไปหากทำการแก้ไขทัน...


พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๒


สายสัมพันธ์ ๒ แผ่นดิน : ศูนย์ศึกษาการพัฒนา
และบริการด้านการเกษตรห้วยซอน-ห้วยซั้ว
เสด็จพระราชดำเนินไปในพิธีเปิดอาคารโครงการ
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาและบริการด้านการเกษตรห้วย
ซอน-ห้วยซ้ำ บ้านนายาง อำเภอทรายทอง แขวงนคร
เวียงจันทน์ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว

"...พูดถึงประชาชนอย่างนี้ ไม่ได้พูดว่าประชาชน
ไทยหรือลาว เพราะว่าถ้าประที่ไหนก็ตาม ประเทศไหน
ก็ตาม มีความอยู่เย็นเป็นสุข สันติสุข หรือความสงบก็จะ
เกิดขึ้นไม่เจาะจงว่าประเทศไทยหรือประเทศลาว..."

ใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ : โครงการแก้มลิง
"...เมื่ออายุ ๕ ขวบ มีลิงเอากล้วยไปให้มันก็เคี้ยว
แล้วใส่ในแก้ม ตกลง "โครงการแก้มลิง" นี้มีที่เกิด เมื่อเรา
อายุ ๕ ขวบ ก็นี่เป็นเวลา ๖๓ ปีมาแล้ว ลิงสมัยโน้นลิง
โบราณเขาก็มีแก้มลิงแล้ว เขาเคี้ยว แล้วเอาเข้าไปเก็บใน
แก้ม น้ำท่วมลงมา ถ้าไม่ทำ "โครงการแก้มลิง" น้ำท่วมนี้จะ
เปรอะไปหมด อย่างนี้เปรอะไปทั่วภาคกลางจะต้องทำ
"แก้มลิง" เพื่อที่จะเอาน้ำนี้ไปเก็บไว้..."


พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘
เกี่ยวกับโครงการแก้มลิง ที่นำมาใช้แก้ไขปัญหาน้ำท่วม
ในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา





ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"

จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ