ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่3"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) () |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 15 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | <div style="display:inline-table; clear:both;float:left"> | + | __NOTOC__ |
+ | <div style="display:inline-table;width:850px; clear:both;float:left"> | ||
<div style="display:table; float:left"> | <div style="display:table; float:left"> | ||
{{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div> | {{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div> | ||
− | <div style="display:table;float:left; padding-left: | + | <div style="display:table;float:left;width:700px; padding-left:25px"><h1>ทศวรรษที่ ๓ แรกเริ่มทรงเรียนรู้เพื่อประชาชน (พ.ศ. ๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)</h1> |
<div class="kgreen" style="font-size:120%" align="center"> | <div class="kgreen" style="font-size:120%" align="center"> | ||
− | ...ความรู้นั้นเปรียบเสมือนศาสตราวุธ ย่อมจะเป็นคุณหรือโทษให้เท่ากัน | + | ...ความรู้นั้นเปรียบเสมือนศาสตราวุธ ย่อมจะเป็นคุณหรือโทษให้เท่ากัน สำคัญอยู่ที่ใช้ คือถ้าใช้ถูกทางก็ป้องกันอันตรายได้ ถ้าใช้ไม่ถูกทางก็กลับจะเป็นอันตรายประหารตัวเอง และแม้ผู้อื่นด้วย... |
− | |||
</div> | </div> | ||
<div style="font-size:90%; text-align:right"> | <div style="font-size:90%; text-align:right"> | ||
− | + | พระบรมราโชวาทพระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ ๒๐ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๐๗ | |
− | วันที่ ๒๐ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๐๗ | ||
</div> | </div> | ||
=== === | === === | ||
− | <div id=" | + | <div id="century"> |
− | <div | + | <div id="lcentury"> |
<gallery> | <gallery> | ||
Image:ทศ3-02.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๐ ระหว่างทรงศึกษาต่อ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจด้วย | Image:ทศ3-02.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๐ ระหว่างทรงศึกษาต่อ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจด้วย | ||
แถว 22: | แถว 21: | ||
</gallery> | </gallery> | ||
</div> | </div> | ||
− | <div | + | <div id="rcentury">'''ทรงมุ่งมั่นศึกษา : สร้างภูมิพลังเพื่อแผ่นดิน'''<br /> |
− | + | โดยทรงเปลี่ยนแนวการศึกษาของพระองค์จากสาขาวิศวกรรมศาสตร์ที่ทรงศึกษาอยู่เดิม เป็นสาขาวิชาเกี่ยวกับการปกครอง เช่น กฎหมาย อักษรศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นต้น | |
− | + | ในช่วงที่ทรงศึกษาอยู่ต่างประเทศได้ทรงมีโอกาสใช้ชีวิตอย่างธรรมดา เรียบง่าย ใกล้ชิดกับสามัญชนและทรงศึกษาเรียนรู้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนในทุกระดับชั้น | |
− | + | ทรงทุ่มเททั้งพระวรกายและพระสติปัญญาในการศึกษาอย่างเต็มพระกำลัง ทั้งนี้ ก็เพื่อทรงเตรียมพระองค์ในการที่จะทรงเป็นประมุขของประเทศ | |
</div> | </div> | ||
แถว 35: | แถว 34: | ||
=== === | === === | ||
− | <div id=" | + | <div id="century"> |
− | <div | + | <div id="lcentury"> |
<gallery> | <gallery> | ||
Image:ทศ3-05.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๓<br />พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง | Image:ทศ3-05.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๓<br />พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง | ||
แถว 42: | แถว 41: | ||
</gallery> | </gallery> | ||
</div> | </div> | ||
− | <div | + | <div id="rcentury">'''ทรงรับพระราชภารกิจและหน้าที่อันยิ่งใหญ่ : <br />"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข<br />แห่งมหาชนชาวสยาม"''' |
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธี<br />บรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณี <br />ในวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๓ ณ พระที่นั่งไพศาล<br />ทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธย<br />จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า <span style="color:darkgreen">พระบาทสมเด็จ พระปรมินทร<br />มหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี <br />จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร</span> <br />ในวันมหามงคลนั้น พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้<br />พระราชทานปฐมบรมราชโองการแก่ประชาชนชาวไทยว่า | ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธี<br />บรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณี <br />ในวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๓ ณ พระที่นั่งไพศาล<br />ทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธย<br />จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า <span style="color:darkgreen">พระบาทสมเด็จ พระปรมินทร<br />มหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี <br />จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร</span> <br />ในวันมหามงคลนั้น พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้<br />พระราชทานปฐมบรมราชโองการแก่ประชาชนชาวไทยว่า | ||
แถว 55: | แถว 54: | ||
<gallery> | <gallery> | ||
Image:ทศวรรษที่3.jpg| | Image:ทศวรรษที่3.jpg| | ||
− | |||
− | |||
Image:ทศ3-25.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๘ <br />แม่เฒ่าตุ้ม จันทนิตย์ วัย ๑๐๒ ปี ถวายดอกบัวสายสีชมพู ๓ ดอก แด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ณ สามแยกชยางกูร-เรณูนคร จังหวัดนครพนม จนกลายมาเป็น ภาพประวัติศาตร์ที่น่าประทับใจ ภาพหนึ่ง | Image:ทศ3-25.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๘ <br />แม่เฒ่าตุ้ม จันทนิตย์ วัย ๑๐๒ ปี ถวายดอกบัวสายสีชมพู ๓ ดอก แด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ณ สามแยกชยางกูร-เรณูนคร จังหวัดนครพนม จนกลายมาเป็น ภาพประวัติศาตร์ที่น่าประทับใจ ภาพหนึ่ง | ||
− | Image:ทศ3-07.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๓ พระราชทานปริญญาบัตร ปีการศึกษา ๒๔๙๒ [[การศึกษา|ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง]] | + | Image:ทศ3-07.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๓ พระราชทานปริญญาบัตร ปีการศึกษา ๒๔๙๒ <br />[[การศึกษา|ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง]] |
Image:ทศ3-08.jpg| | Image:ทศ3-08.jpg| | ||
Image:ทศ3-09.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๔ ทรงปล่อยพันธุ์ปลาหมอในสระน้ำ หน้าพระที่นั่งอุดร | Image:ทศ3-09.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๔ ทรงปล่อยพันธุ์ปลาหมอในสระน้ำ หน้าพระที่นั่งอุดร | ||
− | Image:ทศ3-17.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๕ รถพระที่นั่งติดหล่ม และถนนสายห้วยมงคล จึงเกิดขึ้น [[การคมนาคม|ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง]] | + | Image:ทศ3-17.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๕ รถพระที่นั่งติดหล่ม และถนนสายห้วยมงคล จึงเกิดขึ้น <br />[[การคมนาคม|ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง]] |
− | Image:สถานีอส2.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๕ ทรงก่อตั้งสถานีวิทยุ อ.ส.เพื่อเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ | + | Image:สถานีอส2.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๕ ทรงก่อตั้งสถานีวิทยุ อ.ส.เพื่อเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ <br />[[การสื่อสาร|ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง]] |
− | Image:ทศ3-10.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๓ ทรงคลาริเนตร่วมกับ วงเครื่องสายผสม วงแพทย์อาวุโส ออกอากาศทางสถานีวิทยุ อ.ส.พระราชวังดุสิต [[พระอัจฉริยภาพทางศิลปะ|ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง]] | + | Image:ทศ3-10.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๓ ทรงคลาริเนตร่วมกับ วงเครื่องสายผสม วงแพทย์อาวุโส ออกอากาศทางสถานีวิทยุ อ.ส.พระราชวังดุสิต <br />[[พระอัจฉริยภาพทางศิลปะ|ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง]] |
Image:ทศ3-11.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๖ บ้านปากทวาร ตำบลหินเหล็กไฟ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ | Image:ทศ3-11.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๖ บ้านปากทวาร ตำบลหินเหล็กไฟ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ | ||
Image:ทศ3-12.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๖ บ้านปากทวาร ตำบลหินเหล็กไฟ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ | Image:ทศ3-12.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๖ บ้านปากทวาร ตำบลหินเหล็กไฟ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ | ||
Image:ทศ3-13.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๖ ทอดพระเนตรแพทย์ ที่กำลังตรวจ สุขภาพเด็กในท้องที่ทุรกันดาร | Image:ทศ3-13.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๖ ทอดพระเนตรแพทย์ ที่กำลังตรวจ สุขภาพเด็กในท้องที่ทุรกันดาร | ||
Image:ทศ3-14.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๗ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่หน่วยแรก [[การแพทย์|ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง]] | Image:ทศ3-14.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๗ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่หน่วยแรก [[การแพทย์|ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง]] | ||
− | Image:ทศ3-15.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๘ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ พระราชทาน ทางน้ำ "เวชพาหน์" [[การแพทย์|ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง]] | + | Image:ทศ3-15.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๘ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ พระราชทาน ทางน้ำ "เวชพาหน์" <br />[[การแพทย์|ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง]] |
Image:ทศ3-16.jpg|เรือ "เวชพาหน์" | Image:ทศ3-16.jpg|เรือ "เวชพาหน์" | ||
Image:ทศ3-18.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๘ เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎร จังหวัดขอนแก่น | Image:ทศ3-18.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๘ เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎร จังหวัดขอนแก่น | ||
แถว 92: | แถว 89: | ||
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.4}} | {{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.4}} | ||
</div> | </div> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | [[หมวดหมู่:๘ ทศวรรษแห่งการพัฒนา]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:40, 7 พฤศจิกายน 2561
ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)
ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)
ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)
ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)
ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)
ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)
ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)
ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)
ทศวรรษที่ ๓ แรกเริ่มทรงเรียนรู้เพื่อประชาชน (พ.ศ. ๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)
...ความรู้นั้นเปรียบเสมือนศาสตราวุธ ย่อมจะเป็นคุณหรือโทษให้เท่ากัน สำคัญอยู่ที่ใช้ คือถ้าใช้ถูกทางก็ป้องกันอันตรายได้ ถ้าใช้ไม่ถูกทางก็กลับจะเป็นอันตรายประหารตัวเอง และแม้ผู้อื่นด้วย...
พระบรมราโชวาทพระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ ๒๐ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๐๗
โดยทรงเปลี่ยนแนวการศึกษาของพระองค์จากสาขาวิศวกรรมศาสตร์ที่ทรงศึกษาอยู่เดิม เป็นสาขาวิชาเกี่ยวกับการปกครอง เช่น กฎหมาย อักษรศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นต้น
ในช่วงที่ทรงศึกษาอยู่ต่างประเทศได้ทรงมีโอกาสใช้ชีวิตอย่างธรรมดา เรียบง่าย ใกล้ชิดกับสามัญชนและทรงศึกษาเรียนรู้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนในทุกระดับชั้น
ทรงทุ่มเททั้งพระวรกายและพระสติปัญญาในการศึกษาอย่างเต็มพระกำลัง ทั้งนี้ ก็เพื่อทรงเตรียมพระองค์ในการที่จะทรงเป็นประมุขของประเทศ
"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข
แห่งมหาชนชาวสยาม"
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธี
บรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณี
ในวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๓ ณ พระที่นั่งไพศาล
ทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธย
จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จ พระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี
จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
ในวันมหามงคลนั้น พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้
พระราชทานปฐมบรมราชโองการแก่ประชาชนชาวไทยว่า
"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข
แห่งมหาชนชาวสยาม"
พุทธศักราช ๒๔๙๓ พระราชทานปริญญาบัตร ปีการศึกษา ๒๔๙๒
ดูหน้าที่เกี่ยวข้องพุทธศักราช ๒๔๙๕ รถพระที่นั่งติดหล่ม และถนนสายห้วยมงคล จึงเกิดขึ้น
ดูหน้าที่เกี่ยวข้องพุทธศักราช ๒๔๙๕ ทรงก่อตั้งสถานีวิทยุ อ.ส.เพื่อเป็นสื่อประชาสัมพันธ์
ดูหน้าที่เกี่ยวข้องพุทธศักราช ๒๔๙๓ ทรงคลาริเนตร่วมกับ วงเครื่องสายผสม วงแพทย์อาวุโส ออกอากาศทางสถานีวิทยุ อ.ส.พระราชวังดุสิต
ดูหน้าที่เกี่ยวข้องพุทธศักราช ๒๔๙๗ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่หน่วยแรก ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง
พุทธศักราช ๒๔๙๘ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ พระราชทาน ทางน้ำ "เวชพาหน์"
ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"
จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ