ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปริญญาฯ-มหาวิทยาลัยเดอแรม"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 12 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | + | <div id="king"> | |
+ | <center><h5>(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)</h5><br>'''คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช<br>ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยเดอแรม สหราชอาณาจักร'''<br> | ||
+ | '''ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญานินิศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์<br>ณ พระตำหนักจิตรลาดรโหฐาน พระราชวังดุสิต<br>วันพุธ ที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๕๐'''</center> | ||
+ | </div> | ||
+ | <div id="king2"> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | <div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นธรรมราชาที่ทรงเปี่ยมด้วยทศพิธราชธรรม สมดังพระปฐมบรมราชโองการที่ได้พระราชทานในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ว่า ”เราจะปกครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” นับแต่นั้นมาเป็นเวลากว่าครึ่งศตวรรษ พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงครองราชย์ยาวนานที่สุดในโลก ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจนานัปการ นิตยสารไทม์ได้สดุดีพระองค์ในความเป็นผู้นำที่ชาญฉลาด และถึงพร่อมด้วยหลักการปกครองแบบธรรมาภิบาล แต่นั่นก็มิใช่เหตุผลเพียงประการเดียวที่ทำให้พสกนิกรมีความจงรักภักดีและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ผู้ทรงเป็นเสมือน “ดวงประทีปแห่งแผ่นดิน” | ||
+ | |||
+ | พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดำริที่ก่อให้เกิดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริกว่า ๓,๐๐๐ โครงการ ซึ่งพอจะจำแนกพระราชกรณียกิจที่ทรงบำเพ็ญอย่างทุ่มเทมาโดยตลอดได้เป็นสามเรื่องหลัก ได้แก่ ๑. [[การพัฒนาการเกษตร]]และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ๒. [[การแพทย์|การสาธารณสุข]] และ ๓. [[การศึกษา]] ในเรื่องแรกนั้นได้พระราชทานแนวพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม่ อันเป็นแนวทางการบริหารจัดการผลผลิตรายย่อยอย่างยั่งยืน และเรื่องการฟื้นฟูสภาพป่า เป็นต้น ในด้านสาธารณสุขนั้นได้พระราชทานแนวทางขจัดโรคโปลิโอ วัณโรค และการเสพฝิ่น โดยมีหน่วยแพทย์เคลื่อนที่พระราชทานออกปฏิบัติงานในพื้นที่ทุรกันดาร และโครงการฝึกอบรมแพทย์และพยาบาลอาสาสมัคร ส่วนในด้านการศึกษา ก็ได้ทรงริเริ่มก่อตั้งโรงเรียนสำหรับชาวเขา และการศึกษาทางไกล | ||
+ | |||
+ | แนวพระราชดำริดังกล่าว รวมทั้งในด้านอื่นๆ กระตุ้นให้เกิดการดำเนินการอย่างต่อเนื่องในขณะเดียวกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ได้ทรงเข้าร่วมปฏิบัติการด้วยพระองค์เอง ด้วยพระวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล และทรงคำนึงถึงรายละเอียดปลีกย่อยอย่างน่าอัศจรรย์ใจ ในโครงการแก้ไข[[ปัญหาจราจร]]ที่หนาแน่นในกรุงเทพมหานคร และในโครงการศึกษาทางไกล เราได้เห็นภาพพระองค์ขณะทรงออกแบบสะพานลอยข้ามแยก และทรงกำหนดจอคอมพิวเตอร์บนโต๊ะทำงานเพื่อให้เหมาะสมแก่ผู้ใช้งานมากที่สุด ยิ่งกว่านั้นพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต หรืออีกนัยหนึ่ง ศูนย์ศึกษา[[การพัฒนา]]อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ซึ่งได้กลายเป็นต้นแบบให้แก่หลายประเทศทั่วโลก ก็เป็นเครื่องยืนยันการใส่พระราชหฤทัยอย่างจริงจังของพระองค์ตลอดมา นอกจากนั้น พระองค์ยังทรงพระปรีชาสามารถและเป็นอัจฉริยะในด้านอื่นๆ อีกหลายด้าน อาทิ ด้านดนตรี ทรงเป็นทั้งนักดนตรีแจ๊สชั้นแนวหน้า และยังทรงพระราชนิพนธ์เพลงอีกจำนวนมาก ทรงชนะเลิศ[[กีฬา]]แข่งเรือใบ ทรงพระปรีชาด้านการถ่ายภาพ ด้านพฤกษศาสตร์ อีกทั้งยังทรงพระราชนิพนธ์หนังสือซึ่งเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางหลายเล่ม | ||
+ | |||
+ | พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจนานัปการด้วยพระปรีชาสามารถอันเกิดจากพระราชศรัทธาที่ทรงยึดมั่น ในหลักธรรม อันนำมาซึ่งพระอภิญญาน้อมนำให้ทรงใช้ความรู้ควบคู่กับการปฏิบัติ เป็นผลให้ทรงประสบความสำเร็จอย่างอเนกอนันต์ ทรงอุทิศพระองค์เพื่อประเทศและประชาชนของพระองค์อย่างทุ่มเท ด้วยพระปรีชาญาณล้ำเลิศ ตลอดระยะเวลายาวนานแห่งรัชสมัยที่รุ่งโรจน์</div> | ||
+ | <div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">ณ โอกาสนี้ มหาวิทยาลัยเดอแรมขอพระราชทานทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ปริญญานิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช</div> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | </div> | ||
+ | |||
+ | |||
---- | ---- | ||
+ | |||
+ | |||
+ | [[ภาพ:มหาวิทยาลัยเดอแรม.jpg|อธิการบดีมหาวิทยาลัยเดอแรม ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญานิติศาตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์|center]] | ||
+ | <center>เซอร์เคนเนท แคลมัน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเดอแรม สหราชอาณาจักร<br> ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญานิติศาตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ <br> | ||
+ | ณ พระตำหนักจิตรลาดรโหฐาน พระราชวังดุสิต วันพุธ ที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๕๐</center> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | [[ภาพ:มหาวิทยาลัยเดอแรม2.jpg|ปริญญาบัตรนิติศาตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ที่มหาวิทยาลัยเดอแรมทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย|center]] | ||
+ | <center>ปริญญาบัตรนิติศาตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ที่มหาวิทยาลัยเดอแรมทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย | ||
+ | </center> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | ---- | ||
+ | |||
{{แม่แบบ:เมนูประมวลคำสดุดี}} | {{แม่แบบ:เมนูประมวลคำสดุดี}} |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:50, 15 กรกฎาคม 2551
(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)
คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยเดอแรม สหราชอาณาจักร
ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญานินิศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
ณ พระตำหนักจิตรลาดรโหฐาน พระราชวังดุสิต
วันพุธ ที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๕๐
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดำริที่ก่อให้เกิดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริกว่า ๓,๐๐๐ โครงการ ซึ่งพอจะจำแนกพระราชกรณียกิจที่ทรงบำเพ็ญอย่างทุ่มเทมาโดยตลอดได้เป็นสามเรื่องหลัก ได้แก่ ๑. การพัฒนาการเกษตรและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ๒. การสาธารณสุข และ ๓. การศึกษา ในเรื่องแรกนั้นได้พระราชทานแนวพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม่ อันเป็นแนวทางการบริหารจัดการผลผลิตรายย่อยอย่างยั่งยืน และเรื่องการฟื้นฟูสภาพป่า เป็นต้น ในด้านสาธารณสุขนั้นได้พระราชทานแนวทางขจัดโรคโปลิโอ วัณโรค และการเสพฝิ่น โดยมีหน่วยแพทย์เคลื่อนที่พระราชทานออกปฏิบัติงานในพื้นที่ทุรกันดาร และโครงการฝึกอบรมแพทย์และพยาบาลอาสาสมัคร ส่วนในด้านการศึกษา ก็ได้ทรงริเริ่มก่อตั้งโรงเรียนสำหรับชาวเขา และการศึกษาทางไกล
แนวพระราชดำริดังกล่าว รวมทั้งในด้านอื่นๆ กระตุ้นให้เกิดการดำเนินการอย่างต่อเนื่องในขณะเดียวกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ได้ทรงเข้าร่วมปฏิบัติการด้วยพระองค์เอง ด้วยพระวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล และทรงคำนึงถึงรายละเอียดปลีกย่อยอย่างน่าอัศจรรย์ใจ ในโครงการแก้ไขปัญหาจราจรที่หนาแน่นในกรุงเทพมหานคร และในโครงการศึกษาทางไกล เราได้เห็นภาพพระองค์ขณะทรงออกแบบสะพานลอยข้ามแยก และทรงกำหนดจอคอมพิวเตอร์บนโต๊ะทำงานเพื่อให้เหมาะสมแก่ผู้ใช้งานมากที่สุด ยิ่งกว่านั้นพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต หรืออีกนัยหนึ่ง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ซึ่งได้กลายเป็นต้นแบบให้แก่หลายประเทศทั่วโลก ก็เป็นเครื่องยืนยันการใส่พระราชหฤทัยอย่างจริงจังของพระองค์ตลอดมา นอกจากนั้น พระองค์ยังทรงพระปรีชาสามารถและเป็นอัจฉริยะในด้านอื่นๆ อีกหลายด้าน อาทิ ด้านดนตรี ทรงเป็นทั้งนักดนตรีแจ๊สชั้นแนวหน้า และยังทรงพระราชนิพนธ์เพลงอีกจำนวนมาก ทรงชนะเลิศกีฬาแข่งเรือใบ ทรงพระปรีชาด้านการถ่ายภาพ ด้านพฤกษศาสตร์ อีกทั้งยังทรงพระราชนิพนธ์หนังสือซึ่งเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางหลายเล่ม
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจนานัปการด้วยพระปรีชาสามารถอันเกิดจากพระราชศรัทธาที่ทรงยึดมั่น ในหลักธรรม อันนำมาซึ่งพระอภิญญาน้อมนำให้ทรงใช้ความรู้ควบคู่กับการปฏิบัติ เป็นผลให้ทรงประสบความสำเร็จอย่างอเนกอนันต์ ทรงอุทิศพระองค์เพื่อประเทศและประชาชนของพระองค์อย่างทุ่มเท ด้วยพระปรีชาญาณล้ำเลิศ ตลอดระยะเวลายาวนานแห่งรัชสมัยที่รุ่งโรจน์
ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญานิติศาตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
ณ พระตำหนักจิตรลาดรโหฐาน พระราชวังดุสิต วันพุธ ที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๕๐
หน้าแรกประมวลคำสดุดีพระเกียรติคุณฯ | บัญชีปริญญาดุษฎีบัณฑิตฯ | บัญชีตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ฯ | บัญชีรางวัลฯ | พระราชกรณียกิจ |