ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปริญญาฯ-มหาวิทยาลัยแคนเบอร์รา"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) () |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) () |
||
แถว 6: | แถว 6: | ||
=== === | === === | ||
− | <div class="kindent">หลังจากคณะกรรมการพิจารณาการประสาทปริญญากิตติมศักดิ์และที่ประชุมคณะบดีได้เสนอพระนาม พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๙ แห่งประเทศไทย ให้เป็นผู้ได้รับการทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ในฐานะที่ทรงอุทิศพระองค์ด้าน[[การศึกษา]]มาอย่างยาวนาน สภามหาวิทยาลัยแห่งมหาวิทยาลัยแคนเบอร์รา เครือรัฐออสเตรเลีย จึงลงมติอนุมัติการเสนอดังกล่าวอย่างเป็นเอกฉันท์ | + | <div class="kindent">หลังจากคณะกรรมการพิจารณาการประสาทปริญญากิตติมศักดิ์และที่ประชุมคณะบดีได้เสนอพระนาม พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๙ แห่งประเทศไทย ให้เป็นผู้ได้รับการทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ในฐานะที่ทรงอุทิศพระองค์ด้าน[[การศึกษา]]มาอย่างยาวนาน สภามหาวิทยาลัยแห่งมหาวิทยาลัยแคนเบอร์รา เครือรัฐออสเตรเลีย จึงลงมติอนุมัติการเสนอดังกล่าวอย่างเป็นเอกฉันท์ |
− | + | ||
− | + | เหตุผลสนับสนุนการอนุมัติปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ของมหาวิทยาลัยแก่บุคคลใดก็คือ การเป็นผู้ที่มีผลงานสร้างสรรค์อันยอดเยี่ยมในฐานะนักวิชาการในสายวิชาการ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรืออักษรศาสตร์ หรือการเป็นผู้ประกอบคุณประโยชน์อันโดดเด่นในด้านวิชาการ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรืออักษรศาสตร์ | |
− | + | ||
− | + | การทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ของมหาวิทยาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั้น เป็นผลมาจากการตระหนักถึงการที่ทรงอุทิศพระองค์ด้านวิชาการ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรืออักษรศาสตร์ โดยทรงมุ่งมั่นและทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจนานัปการผ่าน[[โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ]] ในชนบทของประเทศไทยในด้านการดูแลสุขภาพ การศึกษา การอนุรักษ์น้ำและดิน [[การจัดการทรัพยากรน้ำ|การชลประทาน]] การทดลองปลูกพืชพันธุ์ชนิดใหม่ๆ และโครงการที่สนับสนุนความเป็นอยู่อย่างพอเพียง ตลอดจนการขจัดความยากจน | |
− | <div class="kindent">พระมหากษัตริย์ในรัชการก่อนๆ นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พุทธศักราช ๒๔๑๑ – ๒๔๕๓) เป็นต้นมา ได้ทรงถือว่าการศึกษาของประชาชนมีความสำคัญเป็นอันดับแรก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสืบทอดพระราชปณิธานในเรื่องนี้มาโดยตลอด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาระดับประถมศึกษาในชนบท และการพระราชทานทุนการศึกษาแก่นักเรียนที่ด้อยโอกาส ประเทศไทยทุกวันนี้กำลังพัฒนาระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ให้ทันสมัยเพื่อสนองความต้องการของประชากรรุ่นใหม่ การปฏิรูปนี้กำลังดำเนินตามพระบรมราโชบายอันชาญฉลาดของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว | + | |
− | + | มหาวิทยาลัยแคนเบอร์รามีความปลื้มปิติที่ได้เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวผู้ทรงอุทิศพระองค์ให้แก่พระชาชนชาวไทยตลอดระยะเวลา ๕๐ ปี แห่งการครองสิริราชสมบัติ และขอร่วมกับชาวไทยในการสดุดีพระเกียรติคุณที่ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจอันประสบผลสำเร็จมากมาย ด้วยการทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์นี้ | |
− | + | ||
− | + | ||
− | + | '''พระราชกรณียกิจอันโดดเด่นของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว''' | |
+ | <div class="kindent">พระมหากษัตริย์ในรัชการก่อนๆ นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พุทธศักราช ๒๔๑๑ – ๒๔๕๓) เป็นต้นมา ได้ทรงถือว่าการศึกษาของประชาชนมีความสำคัญเป็นอันดับแรก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสืบทอดพระราชปณิธานในเรื่องนี้มาโดยตลอด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาระดับประถมศึกษาในชนบท และการพระราชทานทุนการศึกษาแก่นักเรียนที่ด้อยโอกาส ประเทศไทยทุกวันนี้กำลังพัฒนาระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ให้ทันสมัยเพื่อสนองความต้องการของประชากรรุ่นใหม่ การปฏิรูปนี้กำลังดำเนินตามพระบรมราโชบายอันชาญฉลาดของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว | ||
+ | |||
+ | พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงนำพาประชาชนของพระองค์ด้วยพระปรีชาสามารถ พระวิริยะอุตสาหะในการทรงงานหนักอย่างไม่ย่อท้อ ผ่านการเปลี่ยนแปลงมากมายตลอดระยะเวลา ๕๐ ปี ได้ทรงป้องกันประเทศไทยมิให้ตกอยู่ภายใต้การปกครองของระบอบเผด็จการทางทหาร ซึ่งปัจจัยสำคัญในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของประเทศ ให้ทันสมัยก็คือการที่ชนชั้นกลางที่มีการศึกษามีบทบาทสำคัญในสังคมมากขึ้น สิ่งนี้มิใช่ความสำเร็จระดับธรรมดา ณ วันนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นที่ยอมรับในฐานะที่เป็นสัญลักษณ์สูงสุดของประเทศไทย | ||
+ | |||
+ | ประเทศไทยนั้นมีลักษณะพิเศษแทบจะไม่เหมือนประเทศอื่นใดในโลก นั่นก็คือ เป็นประเทศกำลังพัฒนาที่มีพระมหากษัตริย์ทรงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ มีระดับมาตรฐานการครองชีพที่ดีขึ้นเรื่อยๆ และมีการกระจายความเจริญทางวัตถุไปสู่สังคมทุกชั้นโดยเท่าเทียมกันอย่างน่าชื่นชม ประเทศไทยสามารถอยู่รอด เจริญเติบโต และดำรงอยู่ด้วยความสงบสุขได้มากกว่าเกือบทุกประเทศในภูมิภาค ส่วนใหญ่เป็นผลจากพระบรมราโชบาย ตลอดจนพระวิสัยทัศน์ด้านคุณธรรมและพระวิริยอุตสาหะ | ||
+ | |||
+ | พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ ด้วยสถานะเช่นนี้ พระองค์ทรงปฏิบัติอย่างเคร่งครัดตามสิทธิ ๓ ประการ ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ นั่นคือ สิทธิที่จะพระราชทานคำแนะนำ สิทธิที่จะพระราชทานคำปรึกษา และสิทธิที่จะทรงสนับสนุนและพระราชทานกำลังใจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้สิทธิทั้ง ๓ ประการนี้ ในการทรงนำการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทยด้วยพระปรีชาสามารถอันยอดเยี่ยม ความเป็นรัฐบุรุษของพระองค์ทำให้ทรงสามารถ บรรเทาสถานการณ์ความไม่สงบทางการเมืองได้หลายครั้งหลายครา และนำสันติสุขกลับคืนสู่ฝ่ายที่ขัดแย้งกัน ของขวัญที่พระองค์พระราชทานแก่พสกนิกรในรูปของระบอบประชาธิปไตยภายใต้ระบบรัฐสภาที่แข็งแกร่ง เป็นผลจากการทรงเป็นผู้นำที่ทรงพระปรีชาสามารถ | ||
+ | |||
+ | เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จนิวัตประเทศไทยในพุทธศักราช ๒๔๙๔ อันเป็นช่วงต้นๆ ของรัชสมัยประชาธิปไตยของไทยยังคงเปราะบางมาก อาจก้าวพลาดได้ง่าย พระราชบัลลังก์เองก็ยังไม่มั่นคง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงงานอย่างทุ่มเทไม่ทรงเหน็ดเหนื่อย เพื่อให้ระบอบกษัตริย์ดำเนินสอดประสานไปกับการดำเนินชีวิตของประชาชน และทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพื่อประโยชน์โดยตรงต่อประชาชน ลักษณะเฉพาะของรัชสมัยของพระองค์ก็คือ การเสด็จพระราชดำเนินไปพบปะกับพสกนิกรโดยตรงทุกระดับชั้น ทั้งผู้ที่ยากไร้และผู้ที่มีฐานะ การที่พระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมประชาชนในดินแดนที่ทุรกันดารที่สุดของราชอาณาจักร เป็นวิถีที่ถูกต้องที่สุดในการค่อยๆ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยู่ในชนบทที่ห่างไกลความเจริญ | ||
=== === | === === |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:27, 5 มีนาคม 2551
คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยแคนเบอร์รา เครือรัฐออสเตรเลีย
ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ด้านการศึกษา
ณ พระตำหนักจิตรลาดรโหฐาน พระราชวังดุสิต
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๙
เหตุผลสนับสนุนการอนุมัติปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ของมหาวิทยาลัยแก่บุคคลใดก็คือ การเป็นผู้ที่มีผลงานสร้างสรรค์อันยอดเยี่ยมในฐานะนักวิชาการในสายวิชาการ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรืออักษรศาสตร์ หรือการเป็นผู้ประกอบคุณประโยชน์อันโดดเด่นในด้านวิชาการ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรืออักษรศาสตร์
การทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ของมหาวิทยาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั้น เป็นผลมาจากการตระหนักถึงการที่ทรงอุทิศพระองค์ด้านวิชาการ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรืออักษรศาสตร์ โดยทรงมุ่งมั่นและทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจนานัปการผ่านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในชนบทของประเทศไทยในด้านการดูแลสุขภาพ การศึกษา การอนุรักษ์น้ำและดิน การชลประทาน การทดลองปลูกพืชพันธุ์ชนิดใหม่ๆ และโครงการที่สนับสนุนความเป็นอยู่อย่างพอเพียง ตลอดจนการขจัดความยากจน
มหาวิทยาลัยแคนเบอร์รามีความปลื้มปิติที่ได้เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวผู้ทรงอุทิศพระองค์ให้แก่พระชาชนชาวไทยตลอดระยะเวลา ๕๐ ปี แห่งการครองสิริราชสมบัติ และขอร่วมกับชาวไทยในการสดุดีพระเกียรติคุณที่ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจอันประสบผลสำเร็จมากมาย ด้วยการทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์นี้
พระราชกรณียกิจอันโดดเด่นของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงนำพาประชาชนของพระองค์ด้วยพระปรีชาสามารถ พระวิริยะอุตสาหะในการทรงงานหนักอย่างไม่ย่อท้อ ผ่านการเปลี่ยนแปลงมากมายตลอดระยะเวลา ๕๐ ปี ได้ทรงป้องกันประเทศไทยมิให้ตกอยู่ภายใต้การปกครองของระบอบเผด็จการทางทหาร ซึ่งปัจจัยสำคัญในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของประเทศ ให้ทันสมัยก็คือการที่ชนชั้นกลางที่มีการศึกษามีบทบาทสำคัญในสังคมมากขึ้น สิ่งนี้มิใช่ความสำเร็จระดับธรรมดา ณ วันนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นที่ยอมรับในฐานะที่เป็นสัญลักษณ์สูงสุดของประเทศไทย
ประเทศไทยนั้นมีลักษณะพิเศษแทบจะไม่เหมือนประเทศอื่นใดในโลก นั่นก็คือ เป็นประเทศกำลังพัฒนาที่มีพระมหากษัตริย์ทรงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ มีระดับมาตรฐานการครองชีพที่ดีขึ้นเรื่อยๆ และมีการกระจายความเจริญทางวัตถุไปสู่สังคมทุกชั้นโดยเท่าเทียมกันอย่างน่าชื่นชม ประเทศไทยสามารถอยู่รอด เจริญเติบโต และดำรงอยู่ด้วยความสงบสุขได้มากกว่าเกือบทุกประเทศในภูมิภาค ส่วนใหญ่เป็นผลจากพระบรมราโชบาย ตลอดจนพระวิสัยทัศน์ด้านคุณธรรมและพระวิริยอุตสาหะ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ ด้วยสถานะเช่นนี้ พระองค์ทรงปฏิบัติอย่างเคร่งครัดตามสิทธิ ๓ ประการ ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ นั่นคือ สิทธิที่จะพระราชทานคำแนะนำ สิทธิที่จะพระราชทานคำปรึกษา และสิทธิที่จะทรงสนับสนุนและพระราชทานกำลังใจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้สิทธิทั้ง ๓ ประการนี้ ในการทรงนำการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทยด้วยพระปรีชาสามารถอันยอดเยี่ยม ความเป็นรัฐบุรุษของพระองค์ทำให้ทรงสามารถ บรรเทาสถานการณ์ความไม่สงบทางการเมืองได้หลายครั้งหลายครา และนำสันติสุขกลับคืนสู่ฝ่ายที่ขัดแย้งกัน ของขวัญที่พระองค์พระราชทานแก่พสกนิกรในรูปของระบอบประชาธิปไตยภายใต้ระบบรัฐสภาที่แข็งแกร่ง เป็นผลจากการทรงเป็นผู้นำที่ทรงพระปรีชาสามารถ
เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จนิวัตประเทศไทยในพุทธศักราช ๒๔๙๔ อันเป็นช่วงต้นๆ ของรัชสมัยประชาธิปไตยของไทยยังคงเปราะบางมาก อาจก้าวพลาดได้ง่าย พระราชบัลลังก์เองก็ยังไม่มั่นคง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงงานอย่างทุ่มเทไม่ทรงเหน็ดเหนื่อย เพื่อให้ระบอบกษัตริย์ดำเนินสอดประสานไปกับการดำเนินชีวิตของประชาชน และทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพื่อประโยชน์โดยตรงต่อประชาชน ลักษณะเฉพาะของรัชสมัยของพระองค์ก็คือ การเสด็จพระราชดำเนินไปพบปะกับพสกนิกรโดยตรงทุกระดับชั้น ทั้งผู้ที่ยากไร้และผู้ที่มีฐานะ การที่พระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมประชาชนในดินแดนที่ทุรกันดารที่สุดของราชอาณาจักร เป็นวิถีที่ถูกต้องที่สุดในการค่อยๆ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยู่ในชนบทที่ห่างไกลความเจริญ
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ
*ปัจจุบันมีมากกว่า ๓,๐๐๐ โครงการ ; * *เล่มล่าสุดคือเล่ม ๓๐
ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาบัตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ด้านการศึกษา
ณ พระตำหนักจิตรลาดรโหฐาน พระราชวังดุสิต
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๙
หน้าแรกประมวลคำสดุดีพระเกียรติคุณฯ | บัญชีปริญญาดุษฎีบัณฑิตฯ | บัญชีตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ฯ | บัญชีรางวัลฯ | พระราชกรณียกิจ |