ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาพพระราชกรณียกิจชุดที่ 3"

(สร้างหน้าใหม่: <center> <h1>ทรงเป็นหลักชัยไทยทั่วหล้า</h1> พระบาทสมเด็จพระเจ้าอ...)
 
แถว 1: แถว 1:
 +
[[ภาพ:081009-พระราชกรณียกิจ3-01-2.jpg|center|300px]]
 +
 
<center>
 
<center>
<h1>ทรงเป็นหลักชัยไทยทั่วหล้า</h1>
+
<h1>ทรงธำรงมรดกไทย</h1>
  
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นประมุขของชาติ<br />
+
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงปฏิบัติตามโบราณราชประเพณี<br />
ทรงให้ความสำคัญต่อกิจการของบ้านเมืองในทุกๆ ด้าน<br />
+
ที่สืบทอดมาอย่างยาวนาน<br />
ทั้งด้านการศาสนา การเมืองการปกครอง การทหาร ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ<br />
+
ทั้งทรงสนับสนุนกิจกรรมด้านการศาสนาอย่างต่อเนื่อง<br />
เพื่อสร้างความเป็นปึกแผ่นมั่นคงให้แก่ประเทศชาติ
+
เพื่อธำรงไว้ซึ่งมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
 
</center>
 
</center>
  
 
<center>
 
<center>
 
{| width="800px" border="0"
 
{| width="800px" border="0"
|width="250px"|[[ภาพ:071009-พระราชกรณียกิจ2-02.jpg|200px|center]]||align = "left" width="550px"|'''พระราชพิธีด้านศาสนา'''
+
|width="250px"|[[ภาพ:081009-พระราชกรณียกิจ3-02.jpg|200px|center]]||align = "left" width="550px"|จากเหตุการณ์ฝนตกหนักติดต่อกันหลายวันทำให้องค์พระธาตุพนม พุทธศาสนสถานศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองนครพนม อายุ ๒,๐๐๐ ปี ทรุดตัวพังทลายลงทั้งองค์ เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘<br />รัฐบาลและประชาชนชาวไทยได้ร่วมกันบูรณปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุให้สง่างามดังเดิม
เมื่อพุทธศักราช ๒๕๐๐ รัฐบาลได้จัดงานฉลองกึ่งพุทธศตวรรษขึ้น โดยมีการจัดขบวนเรือพระราชพิธีอัญเชิญพระพุทธรูป พระไตรปิฎก และพระสงฆ์ แห่ไปตามลำน้ำเจ้าพระยา เมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐ เป็นการเฉลิมฉลองและระลึกในพระไตรรัตนาธิคุณ มีเรือเข้าร่วมขบวนไม่ครบถ้วน
+
เมื่อแล้วเสร็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดการพระราชพิธียกฉัตรยอดองค์พระธาตุพนมในวันที่ ๒๒ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๒๒ และได้เสด็จพระราชดำเนินไป
เนื่องจากเรือพระราชพิธีได้ชำรุดเสียหายไปตามสภาพและถูกทำลายจากภาวะสงครามมหาเอเชียบูรพา ต่อมาในพุทธศักราช ๒๕๐๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารคขึ้น สำหรับเสด็จพระราชดำเนินไปทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน
+
ในพระราชพิธีเชิญพระบรมสารีริกธาตุขึ้นบรรจุในองค์พระธาตุพนม เมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม ปีเดียวกัน ณ วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม
วัดอรุณราชวราราม ตามราชประเพณีที่เคยมีมา เพื่อรักษามรดกทางวัฒนธรรมของชาติให้คงอยู่สืบไป
+
|-
 +
|[[ภาพ:081009-พระราชกรณียกิจ3-03.jpg|200px|center]]||พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีสังคายนาพระธรรมวินัย ตรวจชำระพระไตรปิฎก เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๘ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีคณะกรรมการปาลิวิโสธกะ ๓ คณะ ตรวจชำระพระไตรปิฎกทั้งภาษามคธและภาษาไทย ณ ตำหนักสมเด็จพระสังฆราช วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ จนแล้วเสร็จและทำพิธีส่งมอบ เมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๓๐
 +
|-
 +
|[[ภาพ:081009-พระราชกรณียกิจ3-04.jpg|200px|center]]||'''พระราชพิธีอันเนื่องด้วยพระบรมศพและพระบรมอัฐิ'''<br />หลังจากสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๙๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้จัดการพระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระบรมศพ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง
 
|-
 
|-
|[[ภาพ:071009-พระราชกรณียกิจ2-03.jpg|200px|center]]||เมื่อแรกสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สร้างเสาชิงช้าและเทวสถานโบสถ์พราหมณ์เพื่อประกอบพิธีทางศาสนาพราหมณ์ตามโบราณราชประเพณี โดยให้มีพิธีโล้ชิงช้าในพระราชพิธีตรียัมพวาย-ตรีปวาย ในเดือนยี่ของทุกปี พิธีโล้ชิงช้าได้ยกเลิกไปเมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๕
+
|[[ภาพ:081009-พระราชกรณียกิจ3-05.jpg|200px|center]]||ในวันที่ ๒๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพ ณ พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง หลังจากนั้น ในวันที่ ๒๓ เมษายน ได้อัญเชิญพระบรมอัฐิไปประดิษฐาน ณ พระวิมานชั้นบนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง ส่วนพระบรมราชสรีรางคาร อัญเชิญไปบรรจุ ณ ท้ายจรนำ ด้านหลังพระอุโบสถวัดราชาธิวาส เมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน ปีเดียวกัน
 
|-
 
|-
 
|}
 
|}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:54, 8 ตุลาคม 2552

081009-พระราชกรณียกิจ3-01-2.jpg

ทรงธำรงมรดกไทย

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงปฏิบัติตามโบราณราชประเพณี
ที่สืบทอดมาอย่างยาวนาน
ทั้งทรงสนับสนุนกิจกรรมด้านการศาสนาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อธำรงไว้ซึ่งมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ

081009-พระราชกรณียกิจ3-02.jpg
จากเหตุการณ์ฝนตกหนักติดต่อกันหลายวันทำให้องค์พระธาตุพนม พุทธศาสนสถานศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองนครพนม อายุ ๒,๐๐๐ ปี ทรุดตัวพังทลายลงทั้งองค์ เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘
รัฐบาลและประชาชนชาวไทยได้ร่วมกันบูรณปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุให้สง่างามดังเดิม

เมื่อแล้วเสร็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดการพระราชพิธียกฉัตรยอดองค์พระธาตุพนมในวันที่ ๒๒ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๒๒ และได้เสด็จพระราชดำเนินไป ในพระราชพิธีเชิญพระบรมสารีริกธาตุขึ้นบรรจุในองค์พระธาตุพนม เมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม ปีเดียวกัน ณ วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

081009-พระราชกรณียกิจ3-03.jpg
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีสังคายนาพระธรรมวินัย ตรวจชำระพระไตรปิฎก เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๘ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีคณะกรรมการปาลิวิโสธกะ ๓ คณะ ตรวจชำระพระไตรปิฎกทั้งภาษามคธและภาษาไทย ณ ตำหนักสมเด็จพระสังฆราช วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ จนแล้วเสร็จและทำพิธีส่งมอบ เมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๓๐
081009-พระราชกรณียกิจ3-04.jpg
พระราชพิธีอันเนื่องด้วยพระบรมศพและพระบรมอัฐิ
หลังจากสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๙๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้จัดการพระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระบรมศพ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง
081009-พระราชกรณียกิจ3-05.jpg
ในวันที่ ๒๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพ ณ พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง หลังจากนั้น ในวันที่ ๒๓ เมษายน ได้อัญเชิญพระบรมอัฐิไปประดิษฐาน ณ พระวิมานชั้นบนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง ส่วนพระบรมราชสรีรางคาร อัญเชิญไปบรรจุ ณ ท้ายจรนำ ด้านหลังพระอุโบสถวัดราชาธิวาส เมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน ปีเดียวกัน