ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จอมทัพไทย"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) (สร้างหน้าใหม่: <div id="bg_g8"> <center><h1>ทรงเป็นจอมทัพไทย</h1></center> <div class="kindent">ในอดีตพระมหากษ...) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 1: | แถว 1: | ||
<div id="bg_g8"> | <div id="bg_g8"> | ||
+ | |||
+ | [[ภาพ:021009-จอมทัพไทย.jpg|center]] | ||
+ | |||
<center><h1>ทรงเป็นจอมทัพไทย</h1></center> | <center><h1>ทรงเป็นจอมทัพไทย</h1></center> | ||
<div class="kindent">ในอดีตพระมหากษัตริย์ไทยทรงมีฐานะเป็นจอมทัพเสด็จนำไพร่พลต่อสู้อริราชศัตรู เมื่อเข้าสู่ยุคประชาธิปไตยพระราชฐานะการเป็นจอมทัพไทยที่กำหนดไว้ในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ เช่น พระราชอำนาจในการประกาศกฎอัยการศึกและประกาศสงคราม ซึ่งในทางพฤตินัย รัฐบาลโดยนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ นอกจากนี้ การปฏิบัติพระราชกรณียกิจในฐานะจอมทัพไทยส่วนใหญ่อยู่ในรูปของการทรงเป็นองค์ประธานงานพิธีการ เช่น การพระราชทานธงชัยเฉลิมพล งานพิธีสวนสนามและปฏิญาณตนของทหารรักษาพระองค์ซึ่งมีขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๙๖ เป็นต้น | <div class="kindent">ในอดีตพระมหากษัตริย์ไทยทรงมีฐานะเป็นจอมทัพเสด็จนำไพร่พลต่อสู้อริราชศัตรู เมื่อเข้าสู่ยุคประชาธิปไตยพระราชฐานะการเป็นจอมทัพไทยที่กำหนดไว้ในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ เช่น พระราชอำนาจในการประกาศกฎอัยการศึกและประกาศสงคราม ซึ่งในทางพฤตินัย รัฐบาลโดยนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ นอกจากนี้ การปฏิบัติพระราชกรณียกิจในฐานะจอมทัพไทยส่วนใหญ่อยู่ในรูปของการทรงเป็นองค์ประธานงานพิธีการ เช่น การพระราชทานธงชัยเฉลิมพล งานพิธีสวนสนามและปฏิญาณตนของทหารรักษาพระองค์ซึ่งมีขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๙๖ เป็นต้น |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:15, 2 ตุลาคม 2552
ทรงเป็นจอมทัพไทย
ในอดีตพระมหากษัตริย์ไทยทรงมีฐานะเป็นจอมทัพเสด็จนำไพร่พลต่อสู้อริราชศัตรู เมื่อเข้าสู่ยุคประชาธิปไตยพระราชฐานะการเป็นจอมทัพไทยที่กำหนดไว้ในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ เช่น พระราชอำนาจในการประกาศกฎอัยการศึกและประกาศสงคราม ซึ่งในทางพฤตินัย รัฐบาลโดยนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ นอกจากนี้ การปฏิบัติพระราชกรณียกิจในฐานะจอมทัพไทยส่วนใหญ่อยู่ในรูปของการทรงเป็นองค์ประธานงานพิธีการ เช่น การพระราชทานธงชัยเฉลิมพล งานพิธีสวนสนามและปฏิญาณตนของทหารรักษาพระองค์ซึ่งมีขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๙๖ เป็นต้น
ในทางปฏิบัติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใกล้ชิดกับทหารและตำรวจ ทรงสนพระราชหฤทัยในการปฏิบัติงานและสภาพความเป็นอยู่ของเจ้าหน้าที่ทหาร ตำรวจที่ถวายการอารักขายามเสด็จพระราชดำเนินไปยังพื้นที่ต่างๆ ทรงเยี่ยมเยียนไต่ถามทุกข์สุข ซึ่งเป็นการพระราชทานขวัญและกำลังใจอย่างดียิ่ง หากคราใดที่ทหารตำรวจประสบปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ก็จะพระราชทานแนวพระราชดำริและความช่วยเหลือ เพื่อให้ปัญหานั้นสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ยังความซาบซึ้งมาสู่ตำรวจและทหารเป็นอย่างยิ่ง