ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชอำนาจตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ"

แถว 9: แถว 9:
 
บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญได้บัญญัติถึงพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะในการเลือกและแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิมาดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรีและองคมนตรี ข้าราชการในพระองค์ และสมุหราชองครักษ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และพระรัชทายาทเพื่อสืบราชสันตติวงศ์ตามพระราชอัธยาศัย ตามมาตรา ๑๒ ๑๗ ๑๘ และ ๒๒ ตามลำดับ
 
บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญได้บัญญัติถึงพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะในการเลือกและแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิมาดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรีและองคมนตรี ข้าราชการในพระองค์ และสมุหราชองครักษ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และพระรัชทายาทเพื่อสืบราชสันตติวงศ์ตามพระราชอัธยาศัย ตามมาตรา ๑๒ ๑๗ ๑๘ และ ๒๒ ตามลำดับ
 
</div>
 
</div>
<center>การใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญผ่านองค์กร
+
<center>
 +
<span style="color:#754C23">'''การใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญผ่านองค์กร'''</span>
  
 
[[ภาพ:021009-การใช้พระราชอำนาจ.jpg|500px|center]]
 
[[ภาพ:021009-การใช้พระราชอำนาจ.jpg|500px|center]]
  
การใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามนิติราชประเพณี
+
<span style="color:#754C23">'''การใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามนิติราชประเพณี'''</span>
  
 
[[ภาพ:021009-การใช้พระราชอำนาจ2.jpg|500px|center]]
 
[[ภาพ:021009-การใช้พระราชอำนาจ2.jpg|500px|center]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:47, 2 ตุลาคม 2552

ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ

ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระมหาในระบอบประชาธิปไตย มีพระราชอำนาจในการบริหารราชการแผ่นดินตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ผ่านสถาบันต่างๆ ของรัฐ คือ บทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๓ ได้กำหนดว่า “อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทยพระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้”

รวมถึงมาตรา ๘ ที่บัญญัติไว้ว่า “องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใดๆ มิได้” โดยจะไม่ทรงประกอบการใดทางการเมืองด้วยพระองค์เอง ทั้งอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ หากเกิดความคลาดเคลื่อนผิดพลาดใดๆ ย่อมถือว่ามิได้ทรงกระทำผิด เพราะบุคคลที่รับผิดชอบต่อความคลาดเคลื่อนผิดพลาดนั้น คือองค์กรเจ้าของเรื่องและผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ที่ถือเป็นผู้แทนขององค์กรนั้นๆ ในรัฐธรรมนูญ ยังบัญญัติถึงพระราชฐานะและพระราชอำนาจอื่นๆ อีกหลายประการ ได้แก่ “พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก” ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๙ และ “พระมหากษัตริย์ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย” ตามมาตรา ๑๐ รวมถึง “พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะสถาปนาฐานันดรศักดิ์และพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์” ตามมาตรา ๑๑

บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญได้บัญญัติถึงพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะในการเลือกและแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิมาดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรีและองคมนตรี ข้าราชการในพระองค์ และสมุหราชองครักษ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และพระรัชทายาทเพื่อสืบราชสันตติวงศ์ตามพระราชอัธยาศัย ตามมาตรา ๑๒ ๑๗ ๑๘ และ ๒๒ ตามลำดับ

การใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญผ่านองค์กร

021009-การใช้พระราชอำนาจ.jpg

การใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามนิติราชประเพณี

021009-การใช้พระราชอำนาจ2.jpg

ที่มา: รัฐสภาไทยใต้ร่มพระบารมี ๖๐ ปี ทรงครองราชย์ พุทธศักราช ๒๕๔๙ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร