ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสื่อสาร"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 18: | แถว 18: | ||
<div class="kindent">นอกจากวิทยุกระจายเสียงแล้ว ในปี ๒๕๑๐ อันเป็นช่วงเวลาที่ประเทศไทยยังขาดแคลนอุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมที่มีคุณภาพ และประสิทธิภาพเพียงพอ แต่ด้วยความที่ทรงตระหนักถึงความสำคัญของการสื่อสารว่าจะช่วยให้พระองค์ได้รับฟังข่าวสาร เกี่ยวกับความทุกข์สุขของราษฎร จึงได้พระราชทานพระราชดำริให้รวบรวมเจ้าหน้าที่จากหลายหน่วยงานของภาครัฐ มาพัฒนาปรับปรุงระบบวิทยุสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ รวมไปถึงให้ทำการเชื่อมโยงข่ายสื่อสาร ให้รับฟังได้ทั่วประเทศ ในส่วนของพระองค์เอง ทรงศึกษาค้นคว้าและทดลองเรื่องสายอากาศ การแผ่กระจายของคลื่นวิทยุ รวมทั้งระบบการติดต่อโดยผ่านสถานีทวนสัญญาณ ในการสื่อสารโทรคมนาคม เมื่อการทดลองประสบผลเป็นที่พอพระราชหฤทัย จึงทรงพระราชทานพระราชดำริ ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับไปศึกษา ปรับปรุงแก้ไข ตลอดจนได้พระราชทานคำนะนำ ให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ นำไปใช้ประโยชน์เป็นส่วนรวมต่อไป | <div class="kindent">นอกจากวิทยุกระจายเสียงแล้ว ในปี ๒๕๑๐ อันเป็นช่วงเวลาที่ประเทศไทยยังขาดแคลนอุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมที่มีคุณภาพ และประสิทธิภาพเพียงพอ แต่ด้วยความที่ทรงตระหนักถึงความสำคัญของการสื่อสารว่าจะช่วยให้พระองค์ได้รับฟังข่าวสาร เกี่ยวกับความทุกข์สุขของราษฎร จึงได้พระราชทานพระราชดำริให้รวบรวมเจ้าหน้าที่จากหลายหน่วยงานของภาครัฐ มาพัฒนาปรับปรุงระบบวิทยุสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ รวมไปถึงให้ทำการเชื่อมโยงข่ายสื่อสาร ให้รับฟังได้ทั่วประเทศ ในส่วนของพระองค์เอง ทรงศึกษาค้นคว้าและทดลองเรื่องสายอากาศ การแผ่กระจายของคลื่นวิทยุ รวมทั้งระบบการติดต่อโดยผ่านสถานีทวนสัญญาณ ในการสื่อสารโทรคมนาคม เมื่อการทดลองประสบผลเป็นที่พอพระราชหฤทัย จึงทรงพระราชทานพระราชดำริ ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับไปศึกษา ปรับปรุงแก้ไข ตลอดจนได้พระราชทานคำนะนำ ให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ นำไปใช้ประโยชน์เป็นส่วนรวมต่อไป | ||
+ | </div> | ||
+ | [[ภาพ:วิทยุสื่อสาร2.jpg|ในหลวงกับวิทยุสื่อสาร|left]]<div class="kindent">จากความสนพระราชหฤทัยในศาสตร์การสื่อสาร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงค้นคว้า ทดลอง และปฏิบัติการสื่อสารด้วยพระองค์เองอย่างจริงจัง และนอกจากการประกอบวิทยุกระจายเสียง การพัฒนาปรับปรุงระบบวิทยุสื่อสารแล้วยังทรงใช้เครื่องรับ-ส่งวิทยุคมนาคมชนิดมือถือ ที่เรียกว่า Walkie Take ด้วยพระราชประสงค์ว่าเมื่อมีความจำเป็นในโอกาสที่เสด็จแปรพระราชฐานและโทรศัพท์ใช้ไม่ได้ จะได้มีเครื่องมือสื่อสารใช้งานได้ เพื่อให้ได้ทราบถึงเหตุการณ์ต่างๆ โดยเฉพาะข่าวสารสาธารณภัยที่เกิดขึ้นกับประชาชน จะได้ทรงพระราชทานความช่วยเหลือได้ทันการณ์ | ||
+ | เพื่อพัฒนาเครื่องมือให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อปี ๒๕๑๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ดร.สุธี อักษรกิตติ์ ซึ่งดำรงตำแหน่งคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนืออยู่ในขณะนั้น ออกแบบและสร้างสายอากาศย่านความถี่สูงมากขึ้น หรือที่เรียกกว่า VHF ทั้งเพื่อการใช้งานกับวิทุยส่วนพระองค์ เพื่อพระราชทานให้แก่หน่วยราชการต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้คนไทยมีความรู้ความสามารถในด้านการสื่อสาร สามารถพัฒนาระบบวิทยุสื่อสารขึ้นใช้ในประเทศเอง | ||
− | + | ต่อมาในปี ๒๕๒๘ ได้พระราชทานพระราชดำริให้ทำการทดลอง ค้นคว้าและวิจัยเกี่ยวกับงานวิทยุสื่อสารและสายอากาศ เช่น ระบบวิทยุทวนสัญญาณย่านความถี่สูงและพัฒนาสายอากาศชนิดพกพา เป็นต้น เพื่อให้สามารถใช้งานตามป่าเขาได้จะได้ทรงใช้วิทยุสื่อสารในการพระราชทานคำแนะนำการปฏิบัติการแก่หน่วยบินฝนหลวงหรือทรงใช้สถานีวิทยุ อส. เป็นสื่อสร้างความเข้าใจ และให้การศึกษาแก่ประชาชน ตลอดจนเป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ประสานความช่วยเหลือเพื่อคนในชาติ | |
− | |||
</div> | </div> | ||
+ | <div style="clear:both"></div> | ||
+ | <div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยการติดต่อสื่อสารทางวิทยุในโครงข่ายวิทยุสมัครเล่นด้วย ทรงทดลองการแพร่กระจายคลื่นวิทยุและการรับสัญญาณด้วยพระองค์เอง ทรงเคร่งครัดปฏิบัติตามกฎระเบียบของการติดต่อสื่อสาร และจะทรงทักท้วงตักเตือนผู้ที่ไม่เคารพกฎระเบียบ ขณะเดียวกัน ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานคำแนะนำเกี่ยวกับปัญหาด้านเทคนิคต่างๆ ด้วย เมื่อกรมไปรษณีย์โทรเลขก่อตั้งกิจการวิทยุอาสาสมัคร (VR - Voluntary Radio) จึงถวายสัญญาณเรียกขาน “VR009” แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ในวันที่ ๕ ธันวาคม | ||
+ | พุทธศักราช ๒๕๒๔ | ||
− | + | พระอัจฉริยภาพด้านการสื่อสารในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สะท้อนให้เห็นได้วัดจากพระราชดำรัสองค์หนึ่งที่ได้พระราชทานแก่คณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่วิทยุแห่งชาติ คณะกรรมการสมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทย และสมาคมวิทยุอาสาสมัครในโอกาสเข้าเฝ้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวายประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่นชั้นสูงและสัญญาณเรียกขาน HS1A เมื่อวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๓๒ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ความตอนหนึ่งว่า | |
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
</div> | </div> | ||
− | |||
<div class="kindent" style="color:#A76C0F"> | <div class="kindent" style="color:#A76C0F"> | ||
"... ผู้ที่ทำการในด้านวิทยุสมัครเล่นและวิทยุอาสา ต้องปฏิบัติการมาเป็นเวลานานพอสมควร และเข้าใจถึงเรื่องวิทยุ และวิธีศึกษาได้ดี นอกจากรู้จักหลักวิชาการและเทคโนโลยีของวิทยุ ก็จะต้องเห็นประโยชน์ของการสื่อสารที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ... สิ่งที่ได้เห็นและเห็นใจเจ้าหน้าที่ฝ่ายควบคุมความถี่ มีคลื่นวิทยุที่กวนซึ่งกันและกันมาก ทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ ถ้าเป็นโดยตั้งใจก็เป็นสิ่งควรแนะนำตักเตือน ถ้าเป็นโดยไม่ตั้งใจ คือทางวิชาการของการแพร่คลื่นวิทยุย่อมต้องมีการรบกวนซึ่งกันและกันได้ แต่เป็นธรรมชาติตามวิชาการของการแพร่กระจายคลื่นวิทยุที่คลื่นหนึ่งอาจไปรบกวนอีกคลื่นหนึ่งได้ อย่างนี้ถ้าเรียนรู้กันและมีวีธีแก้ไข ก็จะเป็นการดี ทางฝ่ายควบคุมความถี่นี้จึงมีความรับผิดชอบมาก... | "... ผู้ที่ทำการในด้านวิทยุสมัครเล่นและวิทยุอาสา ต้องปฏิบัติการมาเป็นเวลานานพอสมควร และเข้าใจถึงเรื่องวิทยุ และวิธีศึกษาได้ดี นอกจากรู้จักหลักวิชาการและเทคโนโลยีของวิทยุ ก็จะต้องเห็นประโยชน์ของการสื่อสารที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ... สิ่งที่ได้เห็นและเห็นใจเจ้าหน้าที่ฝ่ายควบคุมความถี่ มีคลื่นวิทยุที่กวนซึ่งกันและกันมาก ทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ ถ้าเป็นโดยตั้งใจก็เป็นสิ่งควรแนะนำตักเตือน ถ้าเป็นโดยไม่ตั้งใจ คือทางวิชาการของการแพร่คลื่นวิทยุย่อมต้องมีการรบกวนซึ่งกันและกันได้ แต่เป็นธรรมชาติตามวิชาการของการแพร่กระจายคลื่นวิทยุที่คลื่นหนึ่งอาจไปรบกวนอีกคลื่นหนึ่งได้ อย่างนี้ถ้าเรียนรู้กันและมีวีธีแก้ไข ก็จะเป็นการดี ทางฝ่ายควบคุมความถี่นี้จึงมีความรับผิดชอบมาก... |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:57, 1 ตุลาคม 2552
การสื่อสาร
พุทธศักราช ๒๔๙๕ สถานีวิทยุ อ.ส. พระราชวังดุสิต
เพื่อพัฒนาเครื่องมือให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อปี ๒๕๑๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ดร.สุธี อักษรกิตติ์ ซึ่งดำรงตำแหน่งคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนืออยู่ในขณะนั้น ออกแบบและสร้างสายอากาศย่านความถี่สูงมากขึ้น หรือที่เรียกกว่า VHF ทั้งเพื่อการใช้งานกับวิทุยส่วนพระองค์ เพื่อพระราชทานให้แก่หน่วยราชการต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้คนไทยมีความรู้ความสามารถในด้านการสื่อสาร สามารถพัฒนาระบบวิทยุสื่อสารขึ้นใช้ในประเทศเอง
ต่อมาในปี ๒๕๒๘ ได้พระราชทานพระราชดำริให้ทำการทดลอง ค้นคว้าและวิจัยเกี่ยวกับงานวิทยุสื่อสารและสายอากาศ เช่น ระบบวิทยุทวนสัญญาณย่านความถี่สูงและพัฒนาสายอากาศชนิดพกพา เป็นต้น เพื่อให้สามารถใช้งานตามป่าเขาได้จะได้ทรงใช้วิทยุสื่อสารในการพระราชทานคำแนะนำการปฏิบัติการแก่หน่วยบินฝนหลวงหรือทรงใช้สถานีวิทยุ อส. เป็นสื่อสร้างความเข้าใจ และให้การศึกษาแก่ประชาชน ตลอดจนเป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ประสานความช่วยเหลือเพื่อคนในชาติ
พุทธศักราช ๒๕๒๔
พระอัจฉริยภาพด้านการสื่อสารในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สะท้อนให้เห็นได้วัดจากพระราชดำรัสองค์หนึ่งที่ได้พระราชทานแก่คณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่วิทยุแห่งชาติ คณะกรรมการสมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทย และสมาคมวิทยุอาสาสมัครในโอกาสเข้าเฝ้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวายประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่นชั้นสูงและสัญญาณเรียกขาน HS1A เมื่อวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๓๒ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ความตอนหนึ่งว่า
"... ผู้ที่ทำการในด้านวิทยุสมัครเล่นและวิทยุอาสา ต้องปฏิบัติการมาเป็นเวลานานพอสมควร และเข้าใจถึงเรื่องวิทยุ และวิธีศึกษาได้ดี นอกจากรู้จักหลักวิชาการและเทคโนโลยีของวิทยุ ก็จะต้องเห็นประโยชน์ของการสื่อสารที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ... สิ่งที่ได้เห็นและเห็นใจเจ้าหน้าที่ฝ่ายควบคุมความถี่ มีคลื่นวิทยุที่กวนซึ่งกันและกันมาก ทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ ถ้าเป็นโดยตั้งใจก็เป็นสิ่งควรแนะนำตักเตือน ถ้าเป็นโดยไม่ตั้งใจ คือทางวิชาการของการแพร่คลื่นวิทยุย่อมต้องมีการรบกวนซึ่งกันและกันได้ แต่เป็นธรรมชาติตามวิชาการของการแพร่กระจายคลื่นวิทยุที่คลื่นหนึ่งอาจไปรบกวนอีกคลื่นหนึ่งได้ อย่างนี้ถ้าเรียนรู้กันและมีวีธีแก้ไข ก็จะเป็นการดี ทางฝ่ายควบคุมความถี่นี้จึงมีความรับผิดชอบมาก...
การกวนซึ่งกันและกันของความถี่มากจากธรรมชาติ ความถี่ที่กวนกันนั้นส่วนหนึ่งไม่มีทางแก้ไข และส่วนหนึ่งแก้ไขได้ คือ ต้องปรับเครื่องให้ดี รักษาระดับความถี่ให้ดี ทั้งรักษากำลังเครื่องให้ถูกต้อง แจกจ่ายความถี่ไปในพื้นที่ที่เหมาะสม และทำงานโดยมีวินัย"
ข้อมูลจาก หนังสือ ๘๐ พรรษา ปวงประชาสุขศานต์ จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ