ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทำปุ๋ยหมักจากขยะโดยการฝังกลบในกล่องคอนกรีต"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 27: | แถว 27: | ||
==='''ลักษณะการหมักทำปุ๋ยจากขยะในกล่องและบ่อคอนกรีต โดยการฝังกลบประยุกต์'''=== | ==='''ลักษณะการหมักทำปุ๋ยจากขยะในกล่องและบ่อคอนกรีต โดยการฝังกลบประยุกต์'''=== | ||
− | <div class=" | + | <div class="kindetn">จากการศึกษาวิจัยและพัฒนาของโครงการฯ ได้เทคโนโลยีการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนโดยวิธีการทำปุ๋ยหมักจากขยะด้วยการใช้กล่องและบ่อคอนกรีตหรือการฝังกลบประยุกต์ เป็น 2 รูปแบบ คือ |
1) การหมักปุ๋ย โดยวิธีการฝังกลบประยุกต์ด้วยการใช้กล่องคอนกรีต | 1) การหมักปุ๋ย โดยวิธีการฝังกลบประยุกต์ด้วยการใช้กล่องคอนกรีต | ||
− | |||
2) การหมักปุ๋ย โดยวิธีการฝังกลบประยุกต์ด้วยการใช้บ่อคอนกรีตชนิดกลม | 2) การหมักปุ๋ย โดยวิธีการฝังกลบประยุกต์ด้วยการใช้บ่อคอนกรีตชนิดกลม | ||
− | แต่ละรูปแบบอาศัยหลักการธรรมชาติช่วยธรรมชาติเหมือนกัน และเหมาะสมกับการนำไปประยุกต์ใช้ได้กับชุมชนและตามครัวเรือน ซึ่งทั้งสองรูปแบบมีการบรรจุขยะลงกล่องหรือบ่อคอนกรีตในการหมักที่ไม่แตกต่างกัน แต่จะต่างกันที่ขั้นตอนในช่วงขณะการหมักเท่านั้น ซึ่งมีรายละเอียดและรูปแบบของกล่องและบ่อคอนกรีตตามภาพที่ 1 และภาพที่ 2 | + | แต่ละรูปแบบอาศัยหลักการธรรมชาติช่วยธรรมชาติเหมือนกัน และเหมาะสมกับการนำไปประยุกต์ใช้ได้กับชุมชนและตามครัวเรือน ซึ่งทั้งสองรูปแบบมีการบรรจุขยะลงกล่องหรือบ่อคอนกรีตในการหมักที่ไม่แตกต่างกัน แต่จะต่างกันที่ขั้นตอนในช่วงขณะการหมักเท่านั้น ซึ่งมีรายละเอียดและรูปแบบของกล่องและบ่อคอนกรีตตามภาพที่ 1 และภาพที่ 2</div> |
− | </div> | ||
<center> | <center> | ||
แถว 122: | แถว 120: | ||
5) บ่มขยะเพื่อให้ปุ๋ยที่ได้จากการหมัก (ปล่อยให้แห้ง) 15 วัน มีความชื้นลดลง | 5) บ่มขยะเพื่อให้ปุ๋ยที่ได้จากการหมัก (ปล่อยให้แห้ง) 15 วัน มีความชื้นลดลง | ||
</div> | </div> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | ==='''วิธีการหมักปุ๋ยจากขยะชุมชนแบบฝังกลบประยุกต์'''=== | ||
+ | <div class="kindent">จากหลักการข้างต้น เมื่อเตรียมกล่องคอนกรีตและขยะที่ทำการคัดแยกและเตรียมขยะที่รวบรวมได้แต่ละวันเป็นที่เรียบร้อยแล้ว สามารถดำเนินการฝังกลบประยุกต์และ / หรือหมักทำปุ๋ยตามขั้นตอนดังนี้ | ||
+ | </div> | ||
+ | |||
+ | <u>ขั้นที่ 1</u> ใส่ถ่านคลุมบริเวณปากท่อระบายน้ำชะขยะ พร้อมทั้งใส่ทรายละเอียดรองพื้นกล่องคอนกรีตหนา 20 เซนติเมตร | ||
+ | |||
+ | [[ภาพ:การฝังกลบประยุกต์ขั้น1.jpg|center]] | ||
+ | |||
+ | <center>ลักษณะการใส่ถ่านไม้และทรายละเอียดลงในกล่องคอนกรีต</center> | ||
+ | |||
+ | <u>ขั้นที่ 2</u> ใส่ขยะมูลฝอยน้ำหนัก 660 กิโลกรัมลงในกล่องคอนกรีตและเกลี่ยขยะให้ปกคลุมทั่วพื้นที่ และใช้แรงคนย่ำอัดขยะให้แน่น | ||
+ | |||
+ | |||
+ | [[ภาพ:การฝังกลบประยุกต์ขั้น2.jpg|center]] | ||
+ | |||
+ | <u>ขั้นที่ 3</u> เมื่อใส่ขยะได้ 1 ชั้น ใส่ดินแดงหรือดินธรรมดาไปน้ำหนัก 210 กิโลกรัม (โดยประมาณ) คลุมหน้าชั้นขยะ หรือให้หนาประมาณ 5 เซนติเมตรและเกลี่ยให้ปกคลุมทั่วพื้นที่ผิวของขยะในกล่องคอนกรีต | ||
+ | |||
+ | |||
+ | [[ภาพ:การฝังกลบประยุกต์ขั้น3.jpg|center]] | ||
+ | |||
+ | <u>ขั้นที่ 4</u> ใส่ขยะมูลฝอยน้ำหนัก 660 กิโลกรัมลงไปในกล่องคอนกรีตอีกชั้นและเกลี่ยขยะให้ปกคลุมทั่วพื้นที่ และใช้แรงคนย่ำอัดขยะให้แน่น และใส่ดินแดง 210 กิโลกรัม ใส่ทับหน้าชั้นขยะ ให้หนาประมาณ 5 เซนติมเมตร และเกลี่ยให้คลุมทั่วผิวของขยะ เหมือนชั้นที่แล้ว | ||
+ | |||
+ | |||
+ | [[ภาพ:การฝังกลบประยุกต์ขั้น4.jpg|center]] | ||
+ | |||
+ | <u>ขั้นที่ 5</u> ใส่ขยะชั้นสุดท้ายแต่ครั้งนี้ใช้ขยะหนัก 670 กิโลกรัม | ||
+ | |||
+ | <u>ขั้นที่ 6</u> กลบทับด้วยดินแดงให้หนา 15 เซนติเมตร เกลี่ยให้คลุมทั่วพื้นที่เช่นเดียวกัน และใช้แรงงานคนย่ำอัดขยะให้แน่น เมื่อเสร็จสิ้นจะมีลักษระดังภาพ | ||
+ | |||
+ | |||
+ | [[ภาพ:การฝังกลบประยุกต์ขั้น6.jpg|center]] | ||
+ | |||
+ | <u>ขั้นที่ 7</u> รดน้ำเพิ่มความชื้น โดยใช้บัวรดน้ำให้เป็นฝอยประมาณ 100 ลิตร เป็นอันเสร็จสิ้นการทำปุ๋ยจากขยะหรือการฝังกลบประยุกต์ในกล่องคอนกรีตแบบชุมชน | ||
+ | |||
+ | |||
+ | [[ภาพ:การฝังกลบประยุกต์ขั้น6.jpg|center]] | ||
+ | |||
+ | <u>ขั้นที่ 8</u> การดูแลหลังจากการฝังกลบหรือหมักขยะแล้ว เพื่อเป็นการเร่งและช่วยจุลินทรีย์ในการย่อยสลายของกระบวนการหมัก โดยจะต้องรดน้ำให้ความชุ่มชื้นแก่ขยะที่หมักทุก 7 วัน ครั้งละ 30 ลิตร ทิ้งไว้โดยไม่ต้องกลับกองขยะ เป็นระยะเวลา 90 วัน ก็จะได้ปุ๋ยหมักจากขยะ และเมื่อครบกำหนดในการหมักแล้ว ปล่อยขยะที่หมักเรียบร้อยแล้วให้แห้งประมาณ 15 วัน เพื่อให้ได้ปุ๋ยที่ได้จากการหมักมีความชื้นลดลง | ||
+ | |||
+ | <u>ขั้นที่ 9</u> นำปุ๋ยที่ได้มาร่อนเพื่อแยกเศษเล็กๆ ของส่วนที่ไม่ย่อยสลายภายหลังจากหมักออก เช่น เศษพลาสติก ยาง ผ้า แก้ว โลหะต่างๆ จะได้เนื้อปุ๋ยอินทรีย์ | ||
+ | |||
+ | [[ภาพ:การฝังกลบประยุกต์ขั้น9.jpg|center]] | ||
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]] | [[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:26, 11 สิงหาคม 2551
เทคโนโลยีการกำจัดขยะตามแนวพระราชดำริ
การทำปุ๋ยหมักจากขยะโดยการฝังกลบในกล่องคอนกรีต
การกำจัดขยะมูลฝอยชุมชนด้วยเทคโนโลยีการหมักทำปุ๋ยโดยการใช้กล่องและบ่อคอนกรีตแบบฝังกลบประยุกต์
หลัการแหละเหุตผล
วัตถุประสงค์
- เพื่อเผยแพร่เทคโนโลยีการจัดการขยะมูลฝอยให้กับหน่วยงาน และประชาชนผู้สนใจนำไปใช้ปฏิบัติได้อย่างแพร่หลาย
- เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อมขยะมูลฝอยชุมชนด้วยเทคโนโลยีการหมักทำปุ๋ยแบบฝังกลบประยุกต์
- เพื่อให้เกิดความสะดวกในการนำไปปฏิบัติ ประหยัดค่าใช้จ่าย และง่ายในการนำไปใช้ประโยชน์
ลักษณะการหมักทำปุ๋ยจากขยะในกล่องและบ่อคอนกรีต โดยการฝังกลบประยุกต์
1) การหมักปุ๋ย โดยวิธีการฝังกลบประยุกต์ด้วยการใช้กล่องคอนกรีต 2) การหมักปุ๋ย โดยวิธีการฝังกลบประยุกต์ด้วยการใช้บ่อคอนกรีตชนิดกลม
แต่ละรูปแบบอาศัยหลักการธรรมชาติช่วยธรรมชาติเหมือนกัน และเหมาะสมกับการนำไปประยุกต์ใช้ได้กับชุมชนและตามครัวเรือน ซึ่งทั้งสองรูปแบบมีการบรรจุขยะลงกล่องหรือบ่อคอนกรีตในการหมักที่ไม่แตกต่างกัน แต่จะต่างกันที่ขั้นตอนในช่วงขณะการหมักเท่านั้น ซึ่งมีรายละเอียดและรูปแบบของกล่องและบ่อคอนกรีตตามภาพที่ 1 และภาพที่ 2ภาพที่ 1 ลักษณะของกล่องคอนกรีตที่ใช้ในการฝังกลบประยุกต์เพื่อทำปุ๋ยหมักจากขยะสำหรับชุมชน
ภาพที่ 2 ลักษณะของบ่อคอนกรีตที่ใช้ในการฝังกลบประยุกต์เพื่อทำปุ๋ยหมักจากขยะแบบปิดฝา
จำนวนกล่องหรือบ่อคอนกรีตเท่าไรจึงจะพอในการหมัก
1) กล่องคอนกรีต ขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 3 เมตร สูง 1.5 เมตร สามารถหมักปุ๋ยจากขยะได้สูงสุดเท่ากับ 6 ลูกบาศก์เมตร หรือ 2,000 กิโลกรัม
2) บ่อคอนกรีต ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร สูง 1.5 เมตร สามารถหมักปุ๋ยจากขยะได้สูงสุด 1 ลูกบาศก์เมตร หรือ 300 กิโลกรัม</dvi>
จะต้องเตรียมการอย่างไร
การเลือกพื้นที่ที่จะใช้ในการตั้งกล่องหรือบ่อคอนกรีตเพื่อทำปุ๋ยหมักจากขยะด้วยการฝังกลบประยุกต์ จึงสมควรเลือกหรือหาพื้นที่ที่จะไม่ให้เกิดปัญหากลิ่นเหม็น และการซึมของน้ำชะขยะ ควรเลือกดังนี้คือ
(1) ควรให้อยู่ห่างจากชุมชนพอสมควร แต่ต้องไม่มากเกินไปเพราะจะทำให้เกิดความลำบากและยุ่งยากในการขนย้ายขยะ ไม่ควรเกินกว่า 500 เมตร
(2) ควรเลือกพื้นที่ที่มีทิศทางลมพัดผ่านชุมชนน้อยที่สุด และควรปลูกต้นไม้ล้อมรอบพื้นที่ดำเนินการ
(3) ห่างจากแม่น้ำ คู คลอง หนองและบึง
(4) มีพื้นที่เพียงพอสำหรับจำนวนของกล่องหรือบ่อคอนกรีตที่ต้องใช้
(1) กล่องคอนกรีตขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 3 เมตร สูง 1.5 เมตร หรือบ่อคอนกรีตชนิดกลมเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร สูง 1.5 เมตร
(2) ขยะสดที่ผ่านการคัดแยกแล้ว
(3) ดินแดง หรือดินธรรมดาทั่วไป (ย่อยให้มีขนาดเล็ก)
(4) ทรายละเอียด
(5) ถ่านไม้
(6) น้ำ บัวรดน้ำ
(7) รองเท้ายางทรงสูง (คลุมถึงส่วนหน้าแข้ง)
ก่อนถึงขั้นตอนการนำขยะมาหมักทำปุ๋ยนั้น จะต้องทำการแยกและเตรียมขยะมูลฝอยชุมชนที่รวบรวมมาทั้งหมด โดยการคัดแยกขยะที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ออกไปก่อน ซึ่งจะแบ่งขยะเหล่านั้นออกเป็น 3 พวก และรวบรวมเป็น 3 ถังขยะด้วยกันคือ
หลักในการหมักปุ๋ยจากขยะในกล่องหรือบ่อคอนกรีตแบบฝังกลบประยุกต์
ลักษณะการใส่ขยะและดินแดงหรือดินธรรมดาในการทำปุ๋ยหมักในกล่องคอนกรีตแบบชุมชน เพื่อการหมักทำปุ๋ยจากขยะแบบฝังกลบประยุกต์
ลักษณะการใส่ขยะและดินแดงหรือดินธรรมดาในการทำปุ๋ยหมักในบ่อคอนกรีตแบบครัวเรือน เพื่อการหมักทำปุ๋ยจากขยะแบบฝังกลบประยุกต์
3) รดน้ำเพิ่มความชื้น โดยการรดน้ำทุก 7 วัน จนกระทั่งครบกำหนด 90 วัน
4) ทิ้งไว้โดยไม่ต้องกลับกองขยะเป็นระยะเวลา 90 วัน ก็จะได้ปุ๋ยหมักจากขยะ
5) บ่มขยะเพื่อให้ปุ๋ยที่ได้จากการหมัก (ปล่อยให้แห้ง) 15 วัน มีความชื้นลดลง
วิธีการหมักปุ๋ยจากขยะชุมชนแบบฝังกลบประยุกต์
ขั้นที่ 1 ใส่ถ่านคลุมบริเวณปากท่อระบายน้ำชะขยะ พร้อมทั้งใส่ทรายละเอียดรองพื้นกล่องคอนกรีตหนา 20 เซนติเมตร
ขั้นที่ 2 ใส่ขยะมูลฝอยน้ำหนัก 660 กิโลกรัมลงในกล่องคอนกรีตและเกลี่ยขยะให้ปกคลุมทั่วพื้นที่ และใช้แรงคนย่ำอัดขยะให้แน่น
ขั้นที่ 3 เมื่อใส่ขยะได้ 1 ชั้น ใส่ดินแดงหรือดินธรรมดาไปน้ำหนัก 210 กิโลกรัม (โดยประมาณ) คลุมหน้าชั้นขยะ หรือให้หนาประมาณ 5 เซนติเมตรและเกลี่ยให้ปกคลุมทั่วพื้นที่ผิวของขยะในกล่องคอนกรีต
ขั้นที่ 4 ใส่ขยะมูลฝอยน้ำหนัก 660 กิโลกรัมลงไปในกล่องคอนกรีตอีกชั้นและเกลี่ยขยะให้ปกคลุมทั่วพื้นที่ และใช้แรงคนย่ำอัดขยะให้แน่น และใส่ดินแดง 210 กิโลกรัม ใส่ทับหน้าชั้นขยะ ให้หนาประมาณ 5 เซนติมเมตร และเกลี่ยให้คลุมทั่วผิวของขยะ เหมือนชั้นที่แล้ว
ขั้นที่ 5 ใส่ขยะชั้นสุดท้ายแต่ครั้งนี้ใช้ขยะหนัก 670 กิโลกรัม
ขั้นที่ 6 กลบทับด้วยดินแดงให้หนา 15 เซนติเมตร เกลี่ยให้คลุมทั่วพื้นที่เช่นเดียวกัน และใช้แรงงานคนย่ำอัดขยะให้แน่น เมื่อเสร็จสิ้นจะมีลักษระดังภาพ
ขั้นที่ 7 รดน้ำเพิ่มความชื้น โดยใช้บัวรดน้ำให้เป็นฝอยประมาณ 100 ลิตร เป็นอันเสร็จสิ้นการทำปุ๋ยจากขยะหรือการฝังกลบประยุกต์ในกล่องคอนกรีตแบบชุมชน
ขั้นที่ 8 การดูแลหลังจากการฝังกลบหรือหมักขยะแล้ว เพื่อเป็นการเร่งและช่วยจุลินทรีย์ในการย่อยสลายของกระบวนการหมัก โดยจะต้องรดน้ำให้ความชุ่มชื้นแก่ขยะที่หมักทุก 7 วัน ครั้งละ 30 ลิตร ทิ้งไว้โดยไม่ต้องกลับกองขยะ เป็นระยะเวลา 90 วัน ก็จะได้ปุ๋ยหมักจากขยะ และเมื่อครบกำหนดในการหมักแล้ว ปล่อยขยะที่หมักเรียบร้อยแล้วให้แห้งประมาณ 15 วัน เพื่อให้ได้ปุ๋ยที่ได้จากการหมักมีความชื้นลดลง
ขั้นที่ 9 นำปุ๋ยที่ได้มาร่อนเพื่อแยกเศษเล็กๆ ของส่วนที่ไม่ย่อยสลายภายหลังจากหมักออก เช่น เศษพลาสติก ยาง ผ้า แก้ว โลหะต่างๆ จะได้เนื้อปุ๋ยอินทรีย์