ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่4"

(‎)
แถว 97: แถว 97:
 
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.4}}
 
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.4}}
 
</div>
 
</div>
 +
 +
[[หมวดหมู่:รัชกาลที่9]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:28, 19 มีนาคม 2551

ตราสัญลักษณ์80ปี.jpg


ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)

ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)

ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)

ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)

ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)

ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)

ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)

ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)

ทศวรรษที่ ๔ ทรงส่งเสริมการศึกษา และพัฒนางานส่วนพระองค์ (พ.ศ. ๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)


...การสร้างโรงนมผงในสวนจิตรลดาไม่ใช่สำหรับการค้า แต่สำหรับทดลองดูว่าการทำเช่นนี้จะได้ผลอย่างไร
และเก็บข้อมูลเอาไว้ ดังที่ได้ทำจนถึงบัดนี้ มิใช่ว่าจะทำโรงนมผงนี้เพื่อที่จะให้พอความต้องการในตลาด ซึ่งไม่มีทาง
จะให้เพียงพอได้ เพราะว่าโรงนมในสวนจิตรลดานี้มีความมุ่งหมายอย่างเดียว คือค้นคว้า ไม่ใช่การค้า...

พระราชดำรัส พระราชทานแก่คณะกรรมการดำเนินงานสร้างโรงนมผง
ที่ตำบลหนองโพ จังหวัดราชบุรี
ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน วันศุกร์ที่ ๑๑ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๑๓


ฟื้นฟูพระราชพิธี "กระบวนพยุหยาตราชลมารค"
ทรงฟื้นฟูพระราชประเพณีที่สำคัญ คือ เสด็จพระราช
ดำเนินโดย "กระบวนพยุหยาตราชลมารค" ในงาน
ฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ ซึ่งครั้งนั้นเรียกว่า "กระบวน
พุทธพยุหยาตราทางชลมารค"
โดยเสด็จพระราช
ดำเนินในการถวายผ้าพระกฐินต้น จากนั้น ได้สานต่อ
พระราชประเพณีดังกล่าวในงานพระราชพิธีที่สำคัญ
สืบมาจนปัจจุบัน





ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"

จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ