ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์อัครศาสนูปถัมภก"

('''๒๕๐๙''')
แถว 1: แถว 1:
 
'''องค์อัครศาสนูปถัมภก'''
 
'''องค์อัครศาสนูปถัมภก'''
  
 +
<div style="display:table">
 
=='''๒๕๐๙'''==
 
=='''๒๕๐๙'''==
  
 
[[ภาพ:ศาสนาพุทธ.jpg|left|thumb|๒๙ เมษายน ๒๕๑๖ ทรงพระราชทาน พระพุทธนวราชบพิตร แก่ราษฎรจังหวัด นครศรีธรรมราช]] ๒๙ เมษายน ๒๕๐๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระพุทธรูปปางมารวิชัยพระราชทานนามว่า "พระพุทธนวราชบพิตร" หน้าตักกว้าง ๒๓ เซนติเมตร สูง ๕๐ เซนติเมตร และพระราชทานให้ประดิษฐานยังวัดต่าง ๆ ทั่วราชอาณาจักร เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งความผูกพันระหว่างพสกนิกรกับพระองค์ ในฐานะ "องค์อัครศาสนูปถัมภก"
 
[[ภาพ:ศาสนาพุทธ.jpg|left|thumb|๒๙ เมษายน ๒๕๑๖ ทรงพระราชทาน พระพุทธนวราชบพิตร แก่ราษฎรจังหวัด นครศรีธรรมราช]] ๒๙ เมษายน ๒๕๐๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระพุทธรูปปางมารวิชัยพระราชทานนามว่า "พระพุทธนวราชบพิตร" หน้าตักกว้าง ๒๓ เซนติเมตร สูง ๕๐ เซนติเมตร และพระราชทานให้ประดิษฐานยังวัดต่าง ๆ ทั่วราชอาณาจักร เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งความผูกพันระหว่างพสกนิกรกับพระองค์ ในฐานะ "องค์อัครศาสนูปถัมภก"
 
+
</div>
 +
<div style="display:table; clear:both">
 
=='''๒๕๑๓'''==
 
=='''๒๕๑๓'''==
  
ในปี ๒๕๑๓ ได้พระราชทานพระคัมภีร์อัลกุรอานและคำแปลในภาษาไทยแก่คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดนราธิวาส เพื่อให้ชาวไทยมุสลิมที่อ่านภาษาอาหรับไม่ได้ สามารถเข้าใจในคำสอนจากพระคัมภีร์
+
[[ภาพ:ศาสนาอิสลาม.jpg|left|thumb|พุทธศักราช ๒๕๑๓ พระราชทานพระคัมภีร์อัลกุรอาน และคำแปลในภาษาไทย]]ในปี ๒๕๑๓ ได้พระราชทานพระคัมภีร์อัลกุรอานและคำแปลในภาษาไทยแก่คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดนราธิวาส เพื่อให้ชาวไทยมุสลิมที่อ่านภาษาอาหรับไม่ได้ สามารถเข้าใจในคำสอนจากพระคัมภีร์
 
"การศึกษาพระคัมภีร์ในทุกวันนี้ ยังกระทำไม่ได้สะดวกเต็มที่นัก เพราะผู้ศึกษาต้องเรียนรู้ภาษาอาหรับให้แตกฉานเป็นเบื้องต้นก่อน ซึ่งลำบากและกินเวลามาก ทำให้ผู้ที่ไม่มีโอกาสเรียนภาษาอาหรับเสียประโยชน์ที่ควรจะได้ไป แต่หากมีพระคัมภีร์ที่แปลเป็นภาษาของเราด้วย ก็จะทำให้ทุกคนมีโอกาสศึกษาได้โดยสะดวก" พระราชดำรัส เมื่อวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๑๒
 
"การศึกษาพระคัมภีร์ในทุกวันนี้ ยังกระทำไม่ได้สะดวกเต็มที่นัก เพราะผู้ศึกษาต้องเรียนรู้ภาษาอาหรับให้แตกฉานเป็นเบื้องต้นก่อน ซึ่งลำบากและกินเวลามาก ทำให้ผู้ที่ไม่มีโอกาสเรียนภาษาอาหรับเสียประโยชน์ที่ควรจะได้ไป แต่หากมีพระคัมภีร์ที่แปลเป็นภาษาของเราด้วย ก็จะทำให้ทุกคนมีโอกาสศึกษาได้โดยสะดวก" พระราชดำรัส เมื่อวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๑๒
 
+
</div>
  
 
----
 
----

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:52, 5 มีนาคม 2551

องค์อัครศาสนูปถัมภก

๒๕๐๙

มีข้อผิดพลาดในการสร้างรูปย่อ: ไม่สามารถบันทึกรูปย่อลงในปลายทางได้
๒๙ เมษายน ๒๕๑๖ ทรงพระราชทาน พระพุทธนวราชบพิตร แก่ราษฎรจังหวัด นครศรีธรรมราช
๒๙ เมษายน ๒๕๐๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระพุทธรูปปางมารวิชัยพระราชทานนามว่า "พระพุทธนวราชบพิตร" หน้าตักกว้าง ๒๓ เซนติเมตร สูง ๕๐ เซนติเมตร และพระราชทานให้ประดิษฐานยังวัดต่าง ๆ ทั่วราชอาณาจักร เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งความผูกพันระหว่างพสกนิกรกับพระองค์ ในฐานะ "องค์อัครศาสนูปถัมภก"

๒๕๑๓

มีข้อผิดพลาดในการสร้างรูปย่อ: ไม่สามารถบันทึกรูปย่อลงในปลายทางได้
พุทธศักราช ๒๕๑๓ พระราชทานพระคัมภีร์อัลกุรอาน และคำแปลในภาษาไทย
ในปี ๒๕๑๓ ได้พระราชทานพระคัมภีร์อัลกุรอานและคำแปลในภาษาไทยแก่คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดนราธิวาส เพื่อให้ชาวไทยมุสลิมที่อ่านภาษาอาหรับไม่ได้ สามารถเข้าใจในคำสอนจากพระคัมภีร์

"การศึกษาพระคัมภีร์ในทุกวันนี้ ยังกระทำไม่ได้สะดวกเต็มที่นัก เพราะผู้ศึกษาต้องเรียนรู้ภาษาอาหรับให้แตกฉานเป็นเบื้องต้นก่อน ซึ่งลำบากและกินเวลามาก ทำให้ผู้ที่ไม่มีโอกาสเรียนภาษาอาหรับเสียประโยชน์ที่ควรจะได้ไป แต่หากมีพระคัมภีร์ที่แปลเป็นภาษาของเราด้วย ก็จะทำให้ทุกคนมีโอกาสศึกษาได้โดยสะดวก" พระราชดำรัส เมื่อวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๑๒


**ข้อมูลจาก หนังสือ ๘๐ ทศวรรษแห่งการพัฒนา จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ