ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปริญญาฯ-มหาวิทยาลัยวิกตอเรีย"

แถว 6: แถว 6:
  
  
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">อยู่ระหว่างการจัดทำ
+
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">มหาวิทยาลัยวิคตอเรีย  ประเทศแคนาดา  ซึ่งมีผู้แทนคือ  ดร.  นอร์มา ไอ. มิกเคลสัน  นายกสภามหาวิทยาลัย  นายเดวิด เอฟ. สตรอง  อธิการบดีและรองนายกสภามหาวิทยาลัย  และนายไบรอัน แลม  ประธานคณะกรรมการบริหาร  ได้มาชุมนุมกัน ณ วันนี้  ในราชอาณาจักรไทย  เพื่อทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช</div>
</div>
+
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">นับเป็นเวลานานกว่า ๕ ทศวรรษ  ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานนิยามความสามัคคีของประเทศไทย  ด้วยการอุทิศพระองค์อย่างทุ่มเท  ไม่เห็นแก่พระองค์เอง  และสง่างามสมพระเกียรติยศ  ทรงได้รับการสักการะเทิดทูน  ความชื่นชมโสมนัส  และความจงรักภักดี  อย่างแท้จริงจากพสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหล่า  ทั้งได้ทรงสร้างเสริมสวัสดิการของรัฐและเพิ่มพูนความสุขสวัสดิ์ของพสกนิกรด้วยพระราชกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติและพระราชดำรัสแนะนำ</div>
</div>
+
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">ปวงข้าพระพุทธเจ้าขอเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ในฐานะที่ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจเพื่อปวงชนชาวไทย  ในฐานะพระประมุขของรัฐที่ทรงได้รับการยกย่องสรรเสริญจากประชาคมโลกว่า  ทรงยึดมั่นในหลักคุณธรรม  ทรงเล็งเห็นความสำคัญของการศึกษา  และพระราชทานความช่วยเหลือเพื่อประโยชน์แห่งสาธารณชนมาเป็นเวลายาวนาน</div>
 
+
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">ในวันนี้  มหาวิทยาลัยวิคตอเรียขอประกาศสดุดีพระเกียรติคุณที่ได้ทรงอุทิศพระองค์เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นของประเทศไทยมาโดยตลอด  การที่ทรงริเริ่มก่อตั้งมูลนิธิชัยพัฒนา  และสนับสนุนโครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราฃดำริอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาหลายทศวรรษ  เป็นประจักษ์พยานที่แสดงให้เห็นไม้เว้นวันถึงการเอาพระราชหฤทัยใส่อย่างต่อเนื่องเพื่อการพัฒนาที่สมดุลระหว่างเมืองกับชนบท  การอนุรักษ์แหล่งน้ำและดิน  การบรรเทาทุกข์ผู้ร่วมชาติที่ได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ  และการพัฒนาชีวิตครอบครัวในชุมชนหมู่บ้านไปจนถึงประชาชาติโดยรวม</div>
 
+
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">พระราชกรณายกิจในด้านการฟื้นฟูธรรมชาติให้กลับคืนสู่สภาวะสมดุลนั้น  ยังมีคุณประโยชน์สำคัญอีกประการหนึ่งด้วย  นั่นคือ  เป็นหลักประกันให้แก่ชาวไทยทั้งมวลว่าสิ่งแวดล้อมของชาติจะไม่ถูกทำลาย  และจะเป็นแห่งทรัพยากรที่สมบูรณ์สำหรับพวกเขาต่อไป  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเข้าพระราชหฤทัยอย่างลึกซึ้ง และมีพระบรมราชวินิจฉัยอันล้ำยุคเกี่ยวกับ ความหมายที่สมบูรณ์ของคำว่าสภาวะแวดล้อมที่เป็น  “การผสมผสานกันของสภาวะด้านสังคม  วัฒนธรรม  และชีวภาพ  ซึ่งจะเป็นเครื่องกำหนดรูปแบบและความอยู่รอดของสังคมในที่สุด”  นั่นคือเหตุผลที่มหาวิทยาลัยวิกตอเรียส่งผู้แทนมาพร้อมเพรียงกันเป็นพิเศษในวาระนี้ เพื่อทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขาสิ่งแวดล้อมแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว</div>
 
+
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">มหาวิทยาลัยวิกตอเรียมีความชื่นชมยินดีในความสัมพันธ์อันเปี่ยมด้วยไมตรีจิตกับราชอาณาจักรไทยที่ยังประโยชน์แก่ทั้งสองฝ่าย  โดยการร่วมงานกับสถาบันอุดมศึกษาไทย ๑๐ สถาบัน  และยังร่วมในโครงการวิจัยที่มีฐานอยู่ ณ ประเทศไทย  ตลอดจนการพัฒนาด้านการศึกษาเป็นระยะเวลานับทศวรรษ  ข้าพระพุทธเจ้าภาคภูมิใจที่ได้รับรองนักศึกษาและอาจารย์มหาวิทยาลัยจากประเทศไทยจำนวนมาก ที่มีความสามารถโดดเด่นในสาขาวิชาต่างๆ อย่างกว้างขวาง  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง  ในโครงการบัณฑิตศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม  ข้าพระพุทธเจ้าทั้งปวงขอพระราชทานกราบบังคมทูลเชิญให้ทรงร่วมอยู่ใตตำแหน่งที่น่าภาคภูมิในดังกล่าวนี้  โดยทรงดำรงอยู่ในพระราชฐานะสูงสุดแห่งเกียรติยศ</div>
 
+
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">โดยอำนาจแห่งสภาสูงแห่งมหาวิทยาลัยวิกตรอเรีย ดร. มิกเคลสัน  นายกสภามหาวิทยาลัย  รู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช</div>
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">
 
</div>
 
  
  
แถว 39: แถว 37:
 
[[หมวดหมู่:ปริญญาฯ]]
 
[[หมวดหมู่:ปริญญาฯ]]
 
[[หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์]]
 
[[หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์]]
[[Category: ระหว่างทำ]]
 

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:40, 29 กุมภาพันธ์ 2551

(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)
คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยวิกตอเรีย ประเทศแคนาดา

ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
ณ พระตำหนักจิตรลาดรโหฐาน พระราชวังดุสิต
วันศุกร์ ที่ ๔ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๔๒


มหาวิทยาลัยวิคตอเรีย ประเทศแคนาดา ซึ่งมีผู้แทนคือ ดร. นอร์มา ไอ. มิกเคลสัน นายกสภามหาวิทยาลัย นายเดวิด เอฟ. สตรอง อธิการบดีและรองนายกสภามหาวิทยาลัย และนายไบรอัน แลม ประธานคณะกรรมการบริหาร ได้มาชุมนุมกัน ณ วันนี้ ในราชอาณาจักรไทย เพื่อทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
นับเป็นเวลานานกว่า ๕ ทศวรรษ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานนิยามความสามัคคีของประเทศไทย ด้วยการอุทิศพระองค์อย่างทุ่มเท ไม่เห็นแก่พระองค์เอง และสง่างามสมพระเกียรติยศ ทรงได้รับการสักการะเทิดทูน ความชื่นชมโสมนัส และความจงรักภักดี อย่างแท้จริงจากพสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหล่า ทั้งได้ทรงสร้างเสริมสวัสดิการของรัฐและเพิ่มพูนความสุขสวัสดิ์ของพสกนิกรด้วยพระราชกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติและพระราชดำรัสแนะนำ
ปวงข้าพระพุทธเจ้าขอเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในฐานะที่ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจเพื่อปวงชนชาวไทย ในฐานะพระประมุขของรัฐที่ทรงได้รับการยกย่องสรรเสริญจากประชาคมโลกว่า ทรงยึดมั่นในหลักคุณธรรม ทรงเล็งเห็นความสำคัญของการศึกษา และพระราชทานความช่วยเหลือเพื่อประโยชน์แห่งสาธารณชนมาเป็นเวลายาวนาน
ในวันนี้ มหาวิทยาลัยวิคตอเรียขอประกาศสดุดีพระเกียรติคุณที่ได้ทรงอุทิศพระองค์เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นของประเทศไทยมาโดยตลอด การที่ทรงริเริ่มก่อตั้งมูลนิธิชัยพัฒนา และสนับสนุนโครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราฃดำริอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาหลายทศวรรษ เป็นประจักษ์พยานที่แสดงให้เห็นไม้เว้นวันถึงการเอาพระราชหฤทัยใส่อย่างต่อเนื่องเพื่อการพัฒนาที่สมดุลระหว่างเมืองกับชนบท การอนุรักษ์แหล่งน้ำและดิน การบรรเทาทุกข์ผู้ร่วมชาติที่ได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ และการพัฒนาชีวิตครอบครัวในชุมชนหมู่บ้านไปจนถึงประชาชาติโดยรวม
พระราชกรณายกิจในด้านการฟื้นฟูธรรมชาติให้กลับคืนสู่สภาวะสมดุลนั้น ยังมีคุณประโยชน์สำคัญอีกประการหนึ่งด้วย นั่นคือ เป็นหลักประกันให้แก่ชาวไทยทั้งมวลว่าสิ่งแวดล้อมของชาติจะไม่ถูกทำลาย และจะเป็นแห่งทรัพยากรที่สมบูรณ์สำหรับพวกเขาต่อไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเข้าพระราชหฤทัยอย่างลึกซึ้ง และมีพระบรมราชวินิจฉัยอันล้ำยุคเกี่ยวกับ ความหมายที่สมบูรณ์ของคำว่าสภาวะแวดล้อมที่เป็น “การผสมผสานกันของสภาวะด้านสังคม วัฒนธรรม และชีวภาพ ซึ่งจะเป็นเครื่องกำหนดรูปแบบและความอยู่รอดของสังคมในที่สุด” นั่นคือเหตุผลที่มหาวิทยาลัยวิกตอเรียส่งผู้แทนมาพร้อมเพรียงกันเป็นพิเศษในวาระนี้ เพื่อทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขาสิ่งแวดล้อมแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
มหาวิทยาลัยวิกตอเรียมีความชื่นชมยินดีในความสัมพันธ์อันเปี่ยมด้วยไมตรีจิตกับราชอาณาจักรไทยที่ยังประโยชน์แก่ทั้งสองฝ่าย โดยการร่วมงานกับสถาบันอุดมศึกษาไทย ๑๐ สถาบัน และยังร่วมในโครงการวิจัยที่มีฐานอยู่ ณ ประเทศไทย ตลอดจนการพัฒนาด้านการศึกษาเป็นระยะเวลานับทศวรรษ ข้าพระพุทธเจ้าภาคภูมิใจที่ได้รับรองนักศึกษาและอาจารย์มหาวิทยาลัยจากประเทศไทยจำนวนมาก ที่มีความสามารถโดดเด่นในสาขาวิชาต่างๆ อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในโครงการบัณฑิตศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม ข้าพระพุทธเจ้าทั้งปวงขอพระราชทานกราบบังคมทูลเชิญให้ทรงร่วมอยู่ใตตำแหน่งที่น่าภาคภูมิในดังกล่าวนี้ โดยทรงดำรงอยู่ในพระราชฐานะสูงสุดแห่งเกียรติยศ
โดยอำนาจแห่งสภาสูงแห่งมหาวิทยาลัยวิกตรอเรีย ดร. มิกเคลสัน นายกสภามหาวิทยาลัย รู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช






มหาวิทยาลัยวิกตอเรีย.jpg
ผู้แทนของมหาวิทยาลัยวิกตอเรีย ประเทศแคนาดา
ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาบัตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
ณ พระตำหนักจิตรลาดรโหฐาน พระราชวังดุสิต
วันศุกร์ ที่ ๔ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๔๒


มหาวิทยาลัยวิกตอเรีย2.jpg
ฉลองพระองค์ครุยที่มหาวิทยาลัยวิกตอเรียทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย



Dot orange2.gif หน้าแรกประมวลคำสดุดีพระเกียรติคุณฯ Dot orange2.gif บัญชีปริญญาดุษฎีบัณฑิตฯ Dot orange2.gif บัญชีตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ฯ Dot orange2.gif บัญชีรางวัลฯ Dot orange2.gif พระราชกรณียกิจ