ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การใช้คำสั่งพื้นฐาน"

(New page: {| border="1" cellpadding="6" cellspacing="1" align="center" |+การใช้คำสั่งพื้นฐานเพื่อแก้ไขบทความ |- !style="backgrou...)
 
 
แถว 201: แถว 201:
 
----
 
----
 
หน้าที่เกี่ยวข้อง [[การแก้ไขหน้า]]
 
หน้าที่เกี่ยวข้อง [[การแก้ไขหน้า]]
 +
 +
 +
[[คู่มือการใช้งาน|กลับไปหน้าคู่มือการใช้งาน]]
  
 
[[หมวดหมู่:คู่มือการใช้งาน]]
 
[[หมวดหมู่:คู่มือการใช้งาน]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:01, 14 ธันวาคม 2550

การใช้คำสั่งพื้นฐานเพื่อแก้ไขบทความ
ความต้องการ วิธีการ ตัวอย่างคำสั่ง การแสดงผล
ลิงก์ไปชื่อบทความภายใน คร่อมชื่อบทความด้วยเครื่องหมาย [[...]]
[[การแก้ไขหน้า]]
การแก้ไขหน้า
หรือทำแถบเข้มที่ข้อความและคลิกไอคอน Internal link icon.png
ชื่อลิงก์กับชื่อบทความไม่ตรงกัน วางชื่อบทความก่อนคั่นด้วย | แล้วตามด้วยชื่อลิงก์ที่ต้องการ
[[การทำตาราง|ความรู้เกี่ยวกับการทำตาราง]]
ความรู้เกี่ยวกับการทำตาราง
ลิงก์ไปภายนอก ลิงก์เป็น URL ใส่ชื่อ URL ได้เลย
http://th.wikipedia.org
http://th.wikipedia.org
ลิงก์เป็นแบบอ้างอิง
[http://th.wikipedia.org]
[1]
ระบุเป็นชื่อแทน URL ใส่ชื่อ URL วรรคแล้วตามด้วยชื่อที่ต้องการ แล้วคร่อมด้วยเครื่องหมาย [...] หรือทำแถบสีที่ชื่อ URL แล้วคลิกที่ External link icon.png ที่แถบเครื่องมือ
[http://th.wikipedia.org วิกิพีเดียไทย]
วิกิพีเดียไทย
ทำตัวอักษรเอียง คร่อมข้อความที่ต้องการให้ตัวอักษรเอียงด้วย (') สองครั้ง
''ทำตัวเอียง''
ทำตัวเอียง
หรือทำแถบเข้มที่ข้อความและคลิกไอคอน Italic icon.png
ทำตัวอักษรหนา คร่อมข้อความที่ต้องการให้ตัวอักษรหนาด้วย (') สามครั้ง
'''ทำตัวหนา'''
ทำตัวหนา
หรือทำแถบเข้มที่ข้อความและคลิกไอคอน Bold icon.png
ลงชื่อผู้เขียน พิมพ์คำสั่ง --~~~~ หรือคลิกที่ไอคอน Signature icon.png
--~~~~
--Loma 01:04, 20 เมษายน 2007 (PDT)
หรือพิมพ์ ~~~ เพื่อให้แสดงเฉพาะชื่อ
~~~
Loma
ทำหัวเรื่องหลักหัวเรื่องรอง คร่อมข้อความที่ต้องการให้เป็นหัวเรื่องหลักด้วยเครื่องหมาย = 2 ครั้ง
==การแก้ไขบทความ==
1. การแก้ไขบทความ
1.1 การแก้ไขหน้าพื้นฐาน
1.1.1 การทำตัวหนา
คร่อมข้อความที่ต้องการให้เป็นหัวเรื่องรองด้วยเครื่องหมาย = 3 ครั้ง
===การแก้ไขหน้าพื้นฐาน===
คร่อมข้อความที่ต้องการให้เป็นหัวเรื่องย่อยด้วยเครื่องหมาย = 4 ครั้ง
====การทำตัวหนา====
ขึ้นบรรทัดใหม่ เว้นบรรทัดใหม่ 1 ครั้ง ข้อความจะยังอยู่ในบรรทัดเดียวกัน
บรรทัดที่ 1
บรรทัดที่ 2
บรรทัดที่ 1 บรรทัดที่ 2
เว้นบรรทัด 2 ครั้ง ข้อความจะอยู่คนละบรรทัด
บรรทัดที่1

บรรทัดที่ 2

บรรทัดที่ 1

บรรทัดที่ 2

ใช้คำสั่ง <br> ที่หน้าคำที่ต้องการจะเริ่มบรรทัดใหม่ จำนวนบรรทัดเว้นตามจำนวน <br>
บรรทัดที่ 1<br><br>บรรทัดที่ 2
บรรทัดที่ 1

บรรทัดที่ 2
ใส่เครื่องหมายกำกับรายการ ใส่เครื่องหมาย * หน้ารายการย่อย
*รายการที่ 1
*รายการที่ 2
*รายการที่ 3
  • รายการที่ 1
  • รายการที่ 2
  • รายการที่ 3
เมื่อมีรายการย่อยลงไปอีกก็ใส่ * ซ้อนเพิ่มขึ้น
*รายการที่ 1
**รายการที่ 1.1
***รายการที่ 1.1.1
  • รายการที่ 1
    • รายการที่ 1.1
      • รายการที่ 1.1.1
ใส่เลขลำดับข้อ ใส่เครื่องหมาย # หน้ารายการ
#รายการที่ 1
#รายการที่ 2
#รายการที่ 3
  1. รายการที่ 1
  2. รายการที่ 2
  3. รายการที่ 3
เมื่อมีข้อย่อยลงไปอีกก็ใส่ # ซ้อนเพิ่มขึ้น
#รายการที่ 1
##รายการที่ 1.1
###รายการที่ 1.1.1
  1. รายการที่ 1
    1. รายการที่ 1.1
      1. รายการที่ 1.1.1
ขีดทับข้อความที่ไม่ใช้ คร่อมข้อความที่ไม่ต้องการใช้ด้วยคำสั่ง <s>...</s>
<s>ข้อความที่ไม่ใช้</s>
ข้อความที่ไม่ใช้
ใช้อักขระพิเศษ หากต้องการใช้อักขระพิเศษ ที่ไม่มีตัวพิมพ์ในภาษาที่ใช้อยู่ ให้ดูเพิ่มเติมในเรื่องของรหัสอักขระที่ Special characters
¿ ¡ « » § ¶
† ‡ • - – —
¿ ¡ « » § ¶

† ‡ • - – —

ใช้คำสั่งค่าผันแปร หากต้องการใช้คำสั่งค่าที่ผันแปร ซึ่งค่าที่ปรากฏเป็นข้อความจะปรากฏแปรไปตามเงื่อนไขคำสั่งที่กำหนด เช่น คำสั่งเกี่ยวกับเวลา ก็สามารถทำได้โดยใช้คำสั่งเฉพาะ

{{CURRENTWEEK}}


{{CURRENTMONTH}}


{{CURRENTMONTHNAME}}


{{CURRENTDAY}}


{{CURRENTDAYNAME}}


{{CURRENTYEAR}}


{{CURRENTTIME}}


{{PAGENAME}}


{{SITENAME}}

47


11


พฤศจิกายน


22


วันศุกร์


2024


13:46


การใช้คำสั่งพื้นฐาน


WIKI84


หน้าที่เกี่ยวข้อง การแก้ไขหน้า


กลับไปหน้าคู่มือการใช้งาน