ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชอำนาจตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ"

(สร้างหน้าใหม่: <div id="bg_g8"> <div id="bg_treeb"> <center><h1>ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ ตามบทบัญญัติ...)
 
แถว 3: แถว 3:
 
<center><h1>ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ
 
<center><h1>ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ
 
ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ</h1></center>
 
ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ</h1></center>
<div class="kindent">
+
<div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระมหาในระบอบประชาธิปไตย มีพระราชอำนาจในการบริหารราชการแผ่นดินตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ผ่านสถาบันต่างๆ ของรัฐ คือ บทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๓ ได้กำหนดว่า “อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทยพระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้”
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระมหา
+
 
ในระบอบประชาธิปไตย มีพระราชอำนาจในการบริหาร
+
รวมถึงมาตรา ๘ ที่บัญญัติไว้ว่า “องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใดๆ มิได้” โดยจะไม่ทรงประกอบการใดทางการเมืองด้วยพระองค์เอง ทั้งอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ หากเกิดความคลาดเคลื่อนผิดพลาดใดๆ ย่อมถือว่ามิได้ทรงกระทำผิด เพราะบุคคลที่รับผิดชอบต่อความคลาดเคลื่อนผิดพลาดนั้น คือองค์กรเจ้าของเรื่องและผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ที่ถือเป็นผู้แทนขององค์กรนั้นๆ ในรัฐธรรมนูญ ยังบัญญัติถึงพระราชฐานะและพระราชอำนาจอื่นๆ อีกหลายประการ ได้แก่ “พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก” ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๙ และ “พระมหากษัตริย์ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย” ตามมาตรา ๑๐ รวมถึง “พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะสถาปนาฐานันดรศักดิ์และพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์” ตามมาตรา ๑๑
ราชการแผ่นดินตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ผ่าน
+
 
สถาบันต่างๆ ของรัฐ คือ บทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญ
+
บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญได้บัญญัติถึงพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะในการเลือกและแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิมาดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรีและองคมนตรี ข้าราชการในพระองค์ และสมุหราชองครักษ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และพระรัชทายาทเพื่อสืบราชสันตติวงศ์ตามพระราชอัธยาศัย ตามมาตรา ๑๒ ๑๗ ๑๘ และ ๒๒ ตามลำดับ
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๓
 
ได้กำหนดว่า “อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย
 
พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อำนาจนั้น
 
ทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติ
 
แห่งรัฐธรรมนูญนี้”
 
รวมถึงมาตรา ๘ ที่บัญญัติไว้ว่า “องค์พระมหากษัตริย์
 
ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะ
 
ละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์
 
ในทางใดๆ มิได้” โดยจะไม่ทรงประกอบการใดทางการเมือง
 
ด้วยพระองค์เอง ทั้งอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และ
 
อำนาจตุลาการ หากเกิดความคลาดเคลื่อนผิดพลาดใดๆ
 
ย่อมถือว่ามิได้ทรงกระทำผิด เพราะบุคคลที่รับผิดชอบ
 
ต่อความคลาดเคลื่อนผิดพลาดนั้น คือองค์กรเจ้าของเรื่อง
 
และผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ที่ถือเป็นผู้แทน
 
ขององค์กรนั้นๆ ในรัฐธรรมนูญ ยังบัญญัติถึงพระราช
 
ฐานะและพระราชอำนาจอื่นๆ อีกหลายประการ ได้แก่
 
“พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็น
 
อัครศาสนูปถัมภก” ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๙
 
และ “พระมหากษัตริย์ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย”
 
ตามมาตรา ๑๐ รวมถึง “พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่ง
 
พระราชอำนาจที่จะสถาปนาฐานันดรศักดิ์และพระราชทาน
 
เครื่องราชอิสริยาภรณ์” ตามมาตรา ๑๑
 
บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญได้บัญญัติถึงพระราช
 
อำนาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะในการเลือกและ
 
แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิมาดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรี
 
และองคมนตรี ข้าราชการในพระองค์ และสมุหราช
 
องครักษ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และพระรัชทายาท
 
เพื่อสืบราชสันตติวงศ์ตามพระราชอัธยาศัย ตามมาตรา
 
๑๒ ๑๗ ๑๘ และ ๒๒ ตามลำดับ
 
 
</div>
 
</div>
 +
<center>การใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญผ่านองค์กร
 +
 +
[[ภาพ:021009-การใช้พระราชอำนาจ.jpg|500px|center]]
 +
 +
การใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามนิติราชประเพณี
 +
 +
[[ภาพ:021009-การใช้พระราชอำนาจ2.jpg|500px|center]]
 +
</center>
 +
 +
'''ที่มา:''' รัฐสภาไทยใต้ร่มพระบารมี ๖๐ ปี ทรงครองราชย์ พุทธศักราช ๒๕๔๙ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
  
 
[[หมวดหมู่:ในฐานะพระมหากษัตริย์]]
 
[[หมวดหมู่:ในฐานะพระมหากษัตริย์]]
 
</div></div>
 
</div></div>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:46, 2 ตุลาคม 2552

ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ

ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระมหาในระบอบประชาธิปไตย มีพระราชอำนาจในการบริหารราชการแผ่นดินตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ผ่านสถาบันต่างๆ ของรัฐ คือ บทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๓ ได้กำหนดว่า “อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทยพระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้”

รวมถึงมาตรา ๘ ที่บัญญัติไว้ว่า “องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใดๆ มิได้” โดยจะไม่ทรงประกอบการใดทางการเมืองด้วยพระองค์เอง ทั้งอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ หากเกิดความคลาดเคลื่อนผิดพลาดใดๆ ย่อมถือว่ามิได้ทรงกระทำผิด เพราะบุคคลที่รับผิดชอบต่อความคลาดเคลื่อนผิดพลาดนั้น คือองค์กรเจ้าของเรื่องและผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ที่ถือเป็นผู้แทนขององค์กรนั้นๆ ในรัฐธรรมนูญ ยังบัญญัติถึงพระราชฐานะและพระราชอำนาจอื่นๆ อีกหลายประการ ได้แก่ “พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก” ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๙ และ “พระมหากษัตริย์ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย” ตามมาตรา ๑๐ รวมถึง “พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะสถาปนาฐานันดรศักดิ์และพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์” ตามมาตรา ๑๑

บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญได้บัญญัติถึงพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะในการเลือกและแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิมาดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรีและองคมนตรี ข้าราชการในพระองค์ และสมุหราชองครักษ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และพระรัชทายาทเพื่อสืบราชสันตติวงศ์ตามพระราชอัธยาศัย ตามมาตรา ๑๒ ๑๗ ๑๘ และ ๒๒ ตามลำดับ

การใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญผ่านองค์กร
021009-การใช้พระราชอำนาจ.jpg

การใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามนิติราชประเพณี

021009-การใช้พระราชอำนาจ2.jpg

ที่มา: รัฐสภาไทยใต้ร่มพระบารมี ๖๐ ปี ทรงครองราชย์ พุทธศักราช ๒๕๔๙ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร