ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทรงดำรงสิริราชสมบัติยาวนาน"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) ล (Wikipedia python library) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงดำรงสิริราชสมบัติยาวนานยิ่งกว่าสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชพระองค์ใดของประเทศไทย และยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในโลกในปัจจุบัน ในช่วงระยะเวลา ๖๐ ปีแห่งการดำรงสิริราชสมบัตินั้น เมื่อครบรอบวันแห่งพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในเดือนพฤษภาคมของแต่ละปีเวียนมาบรรจบ จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีเพื่อเป็นสวัสดิมงคลแก่ สิริราชสมบัติและพระราชอาณาจักรตามโบราณราชประเพณี คือ พระราชพิธีฉัตรมงคล นอกจากนี้ ในโอกาสมหามงคลที่ทรงครองราชย์เทียบเท่าพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าในอดีตหรือครองราชย์ครบ ๒๕ ปี ๕๐ ปี และ ๖๐ ปี จะมีพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติเป็นงานใหญ่ ในรัชกาลของพระองค์ | + | <div id="bg_g5"> |
− | + | <center><h3>ทรงดำรงสิริราชสมบัติยาวนาน</h3></center> | |
+ | <div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงดำรงสิริราชสมบัติยาวนานยิ่งกว่าสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชพระองค์ใดของประเทศไทย และยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในโลกในปัจจุบัน ในช่วงระยะเวลา ๖๐ ปีแห่งการดำรงสิริราชสมบัตินั้น เมื่อครบรอบวันแห่งพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในเดือนพฤษภาคมของแต่ละปีเวียนมาบรรจบ จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีเพื่อเป็นสวัสดิมงคลแก่ สิริราชสมบัติและพระราชอาณาจักรตามโบราณราชประเพณี คือ พระราชพิธีฉัตรมงคล นอกจากนี้ ในโอกาสมหามงคลที่ทรงครองราชย์เทียบเท่าพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าในอดีตหรือครองราชย์ครบ ๒๕ ปี ๕๐ ปี และ ๖๐ ปี จะมีพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติเป็นงานใหญ่ ในรัชกาลของพระองค์ ได้มีพระราชพิธีเฉลิมฉลองวาระครบรอบแห่งการครองสิริราชสมบัติ ดังนี้ | ||
๑. พระราชพิธีรัชดาภิเษก เพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสมหามงคลเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติบรรจบครบ ๒๕ ปี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๑๔ | ๑. พระราชพิธีรัชดาภิเษก เพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสมหามงคลเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติบรรจบครบ ๒๕ ปี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๑๔ | ||
− | ๒. พระราชพิธีเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ พุทธศักราช ๒๕๒๐ เป็นโอกาสมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมีพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษาและเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ประกอบพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาและพระราชพิธีเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระราชพิธีเดียวกัน โดยจัดการพระราชพิธีขึ้นในวันที่ ๑ พฤศจิกายน กับวันที่ ๓ – ๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ นอกจากนี้ ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สถาปนาพระราชอิสริยศักดิ์ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา | + | ๒. พระราชพิธีเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ พุทธศักราช ๒๕๒๐ เป็นโอกาสมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมีพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษาและเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ประกอบพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาและพระราชพิธีเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระราชพิธีเดียวกัน โดยจัดการพระราชพิธีขึ้นในวันที่ ๑ พฤศจิกายน กับวันที่ ๓ – ๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ นอกจากนี้ ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สถาปนาพระราชอิสริยศักดิ์ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ขึ้น โดยเฉลิมพระนามตามจารึกพระสุพรรณบัฏว่า “สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมา คุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี” เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ |
− | |||
− | พุทธศักราช ๒๕๒๐ | ||
− | ๓. พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก จัดขึ้นเพื่อทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทรงพระราชอุทิศถวายแด่สมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า | + | ๓. พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก จัดขึ้นเพื่อทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทรงพระราชอุทิศถวายแด่สมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า และสมโภชสิริราชสมบัติในโอกาสมหามงคลที่ทรงครองสิริราชสมบัติเสมอด้วยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นเวลา ๔๒ ปี ๒๒ วัน ในวันที่ ๑ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ และตั้งแต่วันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ เป็นต้นไป พระองค์เสด็จดำรงในสิริราชสมบัติเป็นระยะเวลานานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในประวัติศาสตร์ของชาติไทย การกำหนดพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษกมีกำหนด ๓ วัน คือ วันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ พระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุปทานถวายแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ ๓ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ พระราชพิธีสมโภชสิริราชสมบัติรัชมังคลาภิเษกและเวียนเทียน สมโภชสิริราชสมบัติวันที่ ๕ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ จัดพระราชพิธีบวงสรวงสังเวยสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า ณ พลับพลาตรีมุข พระราชวังโบราณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
− | |||
− | |||
− | จัดพระราชพิธีบวงสรวงสังเวยสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า ณ พลับพลาตรีมุข พระราชวังโบราณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา | ||
− | ๔. พระราชพิธีกาญจนาภิเษก จัดขึ้นในโอกาสมหามงคลที่เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ในวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๓๙ | + | ๔. พระราชพิธีกาญจนาภิเษก จัดขึ้นในโอกาสมหามงคลที่เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ในวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๓๙ รัฐบาลได้จัดงานเฉลิมฉลองขึ้นเป็นงานใหญ่ ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่องานว่า “การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี” และพระราชทานชื่อพระราชพิธีว่า “พระราชพิธีกาญจนาภิเษก” พร้อมทั้งพระราชทานชื่องานและชื่อพระราชพิธี เป็นภาษาอังกฤษว่า “The Fiftieth Anniversary (Golden Jubilee) Celebrations of His Majesty’s Accession to the Throne” การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี และพระราชพิธีกาญนาภิเษกนี้กำหนดให้มีขึ้นระหว่างวันที่ ๘ - ๑๒ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๓๙ |
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
+ | ๕. พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี จัดขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติในโอกาสมหามงคลทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๔๙ ซึ่งนับว่ายาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในอดีต และยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในโลกในปัจจุบัน ครั้งนี้รัฐบาลได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต จัดงานเฉลิมฉลองเป็นงานใหญ่ทั่วประเทศเช่นเดียวกันกับเมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่องานว่า “การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี” พระราชทานชื่องานและชื่อพระราชพิธีเป็นภาษาอังกฤษว่า “The Sixtieth Anniversary Celebrations of His Majesty’s Accession to the Throne” | ||
นอกจากพระราชพิธีสมโภชสิริราชสมบัติในโอกาสมหามงคลดังกล่าวแล้ว ยังมีพระราชพิธีสมมงคล หมายถึง พระราชพิธีที่จัดขึ้นเนื่องในวาระที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษาเสมอเท่าพระมหากษัตริย์ในรัชกาลก่อนๆ และมีพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาในโอกาสมหามงคลครบรอบปีนักษัตร ตลอดจนพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษามีพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษา หรือยิ่งกว่านั้นขึ้นไปด้วย ซึ่งในรัชกาลปัจจุบันได้มีพระราชพิธีในโอกาสมหามงคลดังกล่าวที่จัดขึ้นแล้ว และกำลังจะจัดขึ้น ดังนี้ | นอกจากพระราชพิธีสมโภชสิริราชสมบัติในโอกาสมหามงคลดังกล่าวแล้ว ยังมีพระราชพิธีสมมงคล หมายถึง พระราชพิธีที่จัดขึ้นเนื่องในวาระที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษาเสมอเท่าพระมหากษัตริย์ในรัชกาลก่อนๆ และมีพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาในโอกาสมหามงคลครบรอบปีนักษัตร ตลอดจนพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษามีพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษา หรือยิ่งกว่านั้นขึ้นไปด้วย ซึ่งในรัชกาลปัจจุบันได้มีพระราชพิธีในโอกาสมหามงคลดังกล่าวที่จัดขึ้นแล้ว และกำลังจะจัดขึ้น ดังนี้ | ||
แถว 25: | แถว 17: | ||
๑. พระราชพิธีมหามงคลเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๓ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๖ | ๑. พระราชพิธีมหามงคลเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๓ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๖ | ||
− | ๒. พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมพรรษาเสมอสมเด็จพระราชบิดา ( | + | ๒. พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมพรรษาเสมอสมเด็จพระราชบิดา (เมื่อพระชนมพรรษา ๓๘ พรรษา) วันที่ ๒๙ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๐๘ |
− | |||
− | ๓. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘ | + | ๓. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีเช่นเดียวกับพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาตามปกติของทุกปี |
− | ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีเช่นเดียวกับพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาตามปกติของทุกปี | ||
− | ๔. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๒๐ | + | ๔. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๒๐ จัดขึ้นในมหามงคลทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดรวมกับพระราชพิธีเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ (ในพระราชพิธีนี้ได้โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมสถาปนาพระราชอิสริยศักดิ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดังได้กล่าวมาแล้ว) |
− | |||
− | ๕. พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมพรรษาเสมอสมเด็จพระบรมอัยกาธิราช | + | ๕. พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมพรรษาเสมอสมเด็จพระบรมอัยกาธิราช พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดขึ้นในโอกาสมหามงคลที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕๗ พรรษา ๓๓ วัน เมื่อวันที่ ๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๘ |
− | พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดขึ้นในโอกาสมหามงคลที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕๗ พรรษา ๓๓ วัน เมื่อวันที่ ๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๘ | ||
− | ๖. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐ | + | ๖. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐ จัดขึ้นในโอกาสมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕ รอบ หรือ ๖๐ พรรษา พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาครั้งนี้จัดอย่างยิ่งใหญ่ ประกอบด้วยพระราชพิธีหล่อพระพุทธรูปประจำพระชนมวารและพระพุทธรูปประจำพระชนมพรรษามหามงคล ๕ รอบ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระราชพิธีถวายผ้าพระกฐินโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ณ วัดอรุณราชวราราม พระราชพิธีฉลองพระพุทธรูป และการเสด็จออกมหาสมาคมรับการถวายพระพร ชัยมงคลเฉลิมพระเกียรติ ณ พระที่นั่งชัยมังคลาภิเษกที่สร้างขึ้น ณ ท้องสนามหลวง |
− | |||
๗. พระราชพิธีสมมงคลพระชนมพรรษา ๖๔ พรรษา เสมอสมเด็จพระบรมปัยกาธิราช พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสมอพระชนมวาร ๒๓,๒๖๐ วัน เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๔ | ๗. พระราชพิธีสมมงคลพระชนมพรรษา ๖๔ พรรษา เสมอสมเด็จพระบรมปัยกาธิราช พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสมอพระชนมวาร ๒๓,๒๖๐ วัน เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๔ | ||
แถว 44: | แถว 31: | ||
๘. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒ จัดขึ้นในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเจริญพระชนมพรรษา ๖ รอบ หรือ ๗๒ พรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒ รัฐบาลได้กราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดงานเฉลิมพระเกียรติขึ้น ประกอบด้วยพระราชพิธีต่างๆ ๑๐ พระราชพิธี รัฐพิธี ๓ รัฐพิธี และงานเฉลิมฉลอง๒ งาน และยังมีโครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนตลอดทั้งปี ในครั้งนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่องานพระราชพิธีว่า “พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒” พระราชทานชื่อการจัดงานเฉลิมพระเกียรติว่า “งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒” ส่วนชื่อภาษาอังกฤษนั้นใช้เหมือนกันว่า “The Celebrations on the Auspicious Occasion of His Majesty the King’s 6th Cycle Birthday Anniversary 5th December 1999” | ๘. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒ จัดขึ้นในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเจริญพระชนมพรรษา ๖ รอบ หรือ ๗๒ พรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒ รัฐบาลได้กราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดงานเฉลิมพระเกียรติขึ้น ประกอบด้วยพระราชพิธีต่างๆ ๑๐ พระราชพิธี รัฐพิธี ๓ รัฐพิธี และงานเฉลิมฉลอง๒ งาน และยังมีโครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนตลอดทั้งปี ในครั้งนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่องานพระราชพิธีว่า “พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒” พระราชทานชื่อการจัดงานเฉลิมพระเกียรติว่า “งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒” ส่วนชื่อภาษาอังกฤษนั้นใช้เหมือนกันว่า “The Celebrations on the Auspicious Occasion of His Majesty the King’s 6th Cycle Birthday Anniversary 5th December 1999” | ||
− | ๙. พระราชพิธีสมมงคลพระชนมายุเท่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช | + | ๙. พระราชพิธีสมมงคลพระชนมายุเท่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระปฐมบรมกษัตริยาธิราชแห่งพระบรมราชวงศ์ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๓ เป็นพระราชพิธีเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๗๓ พรรษา (๗๒ ปี ๕ เดือน ๑๙ วัน) นับพระชนมวารได้ ๒๖,๔๖๙ วัน เท่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช |
− | สมเด็จพระปฐมบรมกษัตริยาธิราชแห่งพระบรมราชวงศ์ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๓ เป็นพระราชพิธีเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๗๓ พรรษา (๗๒ ปี ๕ เดือน ๑๙ วัน) นับพระชนมวารได้ ๒๖,๔๖๙ วัน เท่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช | + | </div> |
− | |||
[[หมวดหมู่:พระราชประวัติ]] | [[หมวดหมู่:พระราชประวัติ]] | ||
+ | </div> |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:40, 2 ตุลาคม 2552
ทรงดำรงสิริราชสมบัติยาวนาน
๑. พระราชพิธีรัชดาภิเษก เพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสมหามงคลเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติบรรจบครบ ๒๕ ปี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๑๔
๒. พระราชพิธีเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ พุทธศักราช ๒๕๒๐ เป็นโอกาสมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมีพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษาและเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ประกอบพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาและพระราชพิธีเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระราชพิธีเดียวกัน โดยจัดการพระราชพิธีขึ้นในวันที่ ๑ พฤศจิกายน กับวันที่ ๓ – ๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ นอกจากนี้ ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สถาปนาพระราชอิสริยศักดิ์ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ขึ้น โดยเฉลิมพระนามตามจารึกพระสุพรรณบัฏว่า “สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมา คุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี” เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐
๓. พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก จัดขึ้นเพื่อทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทรงพระราชอุทิศถวายแด่สมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า และสมโภชสิริราชสมบัติในโอกาสมหามงคลที่ทรงครองสิริราชสมบัติเสมอด้วยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นเวลา ๔๒ ปี ๒๒ วัน ในวันที่ ๑ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ และตั้งแต่วันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ เป็นต้นไป พระองค์เสด็จดำรงในสิริราชสมบัติเป็นระยะเวลานานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในประวัติศาสตร์ของชาติไทย การกำหนดพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษกมีกำหนด ๓ วัน คือ วันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ พระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุปทานถวายแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ ๓ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ พระราชพิธีสมโภชสิริราชสมบัติรัชมังคลาภิเษกและเวียนเทียน สมโภชสิริราชสมบัติวันที่ ๕ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ จัดพระราชพิธีบวงสรวงสังเวยสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า ณ พลับพลาตรีมุข พระราชวังโบราณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๔. พระราชพิธีกาญจนาภิเษก จัดขึ้นในโอกาสมหามงคลที่เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ในวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๓๙ รัฐบาลได้จัดงานเฉลิมฉลองขึ้นเป็นงานใหญ่ ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่องานว่า “การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี” และพระราชทานชื่อพระราชพิธีว่า “พระราชพิธีกาญจนาภิเษก” พร้อมทั้งพระราชทานชื่องานและชื่อพระราชพิธี เป็นภาษาอังกฤษว่า “The Fiftieth Anniversary (Golden Jubilee) Celebrations of His Majesty’s Accession to the Throne” การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี และพระราชพิธีกาญนาภิเษกนี้กำหนดให้มีขึ้นระหว่างวันที่ ๘ - ๑๒ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๓๙
๕. พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี จัดขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติในโอกาสมหามงคลทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๔๙ ซึ่งนับว่ายาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในอดีต และยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในโลกในปัจจุบัน ครั้งนี้รัฐบาลได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต จัดงานเฉลิมฉลองเป็นงานใหญ่ทั่วประเทศเช่นเดียวกันกับเมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่องานว่า “การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี” พระราชทานชื่องานและชื่อพระราชพิธีเป็นภาษาอังกฤษว่า “The Sixtieth Anniversary Celebrations of His Majesty’s Accession to the Throne”
นอกจากพระราชพิธีสมโภชสิริราชสมบัติในโอกาสมหามงคลดังกล่าวแล้ว ยังมีพระราชพิธีสมมงคล หมายถึง พระราชพิธีที่จัดขึ้นเนื่องในวาระที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษาเสมอเท่าพระมหากษัตริย์ในรัชกาลก่อนๆ และมีพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาในโอกาสมหามงคลครบรอบปีนักษัตร ตลอดจนพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษามีพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษา หรือยิ่งกว่านั้นขึ้นไปด้วย ซึ่งในรัชกาลปัจจุบันได้มีพระราชพิธีในโอกาสมหามงคลดังกล่าวที่จัดขึ้นแล้ว และกำลังจะจัดขึ้น ดังนี้
๑. พระราชพิธีมหามงคลเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๓ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๖
๒. พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมพรรษาเสมอสมเด็จพระราชบิดา (เมื่อพระชนมพรรษา ๓๘ พรรษา) วันที่ ๒๙ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๐๘
๓. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีเช่นเดียวกับพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาตามปกติของทุกปี
๔. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๒๐ จัดขึ้นในมหามงคลทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดรวมกับพระราชพิธีเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ (ในพระราชพิธีนี้ได้โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมสถาปนาพระราชอิสริยศักดิ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดังได้กล่าวมาแล้ว)
๕. พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมพรรษาเสมอสมเด็จพระบรมอัยกาธิราช พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดขึ้นในโอกาสมหามงคลที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕๗ พรรษา ๓๓ วัน เมื่อวันที่ ๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๘
๖. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐ จัดขึ้นในโอกาสมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕ รอบ หรือ ๖๐ พรรษา พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาครั้งนี้จัดอย่างยิ่งใหญ่ ประกอบด้วยพระราชพิธีหล่อพระพุทธรูปประจำพระชนมวารและพระพุทธรูปประจำพระชนมพรรษามหามงคล ๕ รอบ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระราชพิธีถวายผ้าพระกฐินโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ณ วัดอรุณราชวราราม พระราชพิธีฉลองพระพุทธรูป และการเสด็จออกมหาสมาคมรับการถวายพระพร ชัยมงคลเฉลิมพระเกียรติ ณ พระที่นั่งชัยมังคลาภิเษกที่สร้างขึ้น ณ ท้องสนามหลวง
๗. พระราชพิธีสมมงคลพระชนมพรรษา ๖๔ พรรษา เสมอสมเด็จพระบรมปัยกาธิราช พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสมอพระชนมวาร ๒๓,๒๖๐ วัน เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๔
๘. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒ จัดขึ้นในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเจริญพระชนมพรรษา ๖ รอบ หรือ ๗๒ พรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒ รัฐบาลได้กราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดงานเฉลิมพระเกียรติขึ้น ประกอบด้วยพระราชพิธีต่างๆ ๑๐ พระราชพิธี รัฐพิธี ๓ รัฐพิธี และงานเฉลิมฉลอง๒ งาน และยังมีโครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนตลอดทั้งปี ในครั้งนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่องานพระราชพิธีว่า “พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒” พระราชทานชื่อการจัดงานเฉลิมพระเกียรติว่า “งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒” ส่วนชื่อภาษาอังกฤษนั้นใช้เหมือนกันว่า “The Celebrations on the Auspicious Occasion of His Majesty the King’s 6th Cycle Birthday Anniversary 5th December 1999”
๙. พระราชพิธีสมมงคลพระชนมายุเท่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระปฐมบรมกษัตริยาธิราชแห่งพระบรมราชวงศ์ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๓ เป็นพระราชพิธีเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๗๓ พรรษา (๗๒ ปี ๕ เดือน ๑๙ วัน) นับพระชนมวารได้ ๒๖,๔๖๙ วัน เท่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช