ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท-เทคโนโลยีสารสนเทศ"

(สร้างหน้าใหม่: <div id="bg_g1t"> </div> <div id="bg_g1"> เทคโนโลยีสารสนเทศ {{ดูเพิ่มเติม|[[การ...)
 
 
แถว 1: แถว 1:
 
<div id="bg_g1t">&nbsp;</div>
 
<div id="bg_g1t">&nbsp;</div>
 
<div id="bg_g1">
 
<div id="bg_g1">
 +
<div class="kindent">ความสนพระราชหฤทัยด้านคอมพิวเตอร์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีขึ้นเมื่อครั้งเสด็จประพาสโรงงานคอมพิวเตอร์ใหญ่ที่ซิลิคอนวอลเล่ย์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ในพุทธศักราช ๒๕๐๓ หลังจากนั้นพระปรีชาสามารถด้านคอมพิวเตอร์สะท้อนออกมาจากที่ทรงคิดค้นประดิษฐ์บัตร ส.ค.ส. พระราชทานพรปีใหม่พร้อมคำคมแง่คิดที่เป็นประโยชน์แก่ข้าราชบริพารและประชาชนชาวไทยทุกปี
  
 +
แม้ว่าในช่วงแรกตั้งแต่พุทธศักราช ๒๕๒๙ เรื่อยมาจะทรงใช้เครื่องเทเล็กซ์หรือโทรพิมพ์ประดิษฐ์บัตร ส.ค.ส. จวบจนพุทธศักราช ๒๕๓๐ ทรงเปลี่ยนเทคโนโลยีการประดิษฐ์บัตร ส.ค.ส. มาทรงใช้คอมพิวเตอร์ประดิษฐ์
 +
ทรงใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ประดิษฐ์เป็นลวดลายต่างๆ ที่มีความสวยงามมากยิ่งขึ้น จวบจนปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานบัตร ส.ค.ส. พระราชทานพรปีใหม่แล้วจำนวน ๒๐ บัตร
  
 +
นอกจากนี้ ทรงสามารถสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการประมวลผลข้อมูลต่างๆ รวมถึงทรงประดิษฐ์ Font หรือรูปแบบตัวอักษรที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เอง ทรงตั้งชื่อแบบ
 +
อักษรนั้นตามสถานที่ประทับ ณ ขณะที่ทรงสร้างแบบขึ้นเช่น Font จิตรลดา Font ภูพิงค์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังทรงศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตัวอักษรเทวนาครีหรือที่ทรงเรียกว่า "ภาษาแขก" ด้วยพระองค์เอง นับว่า
 +
ทรงเป็นนักประดิษฐ์โปรแกรมตัวอักษรเทวนาครีขึ้นเป็นคนแรกในประเทศไทย
  
 +
จากความสนพระราชหฤทัย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นผู้จุดประกายให้แก่วงการคอมพิวเตอร์ของไทยให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเรื่อยมาจวบจนถึงปัจจุบัน
  
 +
อาจกล่าวได้ว่า ในการทรงงานอดิเรกของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ประชาชนเนื่องเพราะไม่ว่าพระองค์จะทรงงานอดิเรกใด แม้พระราชประสงค์จะเพื่อความสำราญพระราชหฤทัย แต่ก็ทรงงาน
 +
อย่างจริงจัง เอาพระราชหฤทัยใส่ และทรงพัฒนาให้ถึงที่สุดจนคุณประโยชน์จากงานอดิเรกนั้นได้สร้างคุณูปการให้แก่ประเทศชาติเป็นอย่างยิ่ง
 +
</div>
  
  
  
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
  
 +
{{ดูเพิ่มเติม|[[ส.ค.ส.พระราชทาน]]}}
  
  
{{ดูเพิ่มเติม|[[การสื่อสาร]]}}
+
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]]
 
 
 
 
 
</div>
 
</div>
 
 
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]]
 

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:15, 5 ตุลาคม 2552

 
ความสนพระราชหฤทัยด้านคอมพิวเตอร์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีขึ้นเมื่อครั้งเสด็จประพาสโรงงานคอมพิวเตอร์ใหญ่ที่ซิลิคอนวอลเล่ย์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ในพุทธศักราช ๒๕๐๓ หลังจากนั้นพระปรีชาสามารถด้านคอมพิวเตอร์สะท้อนออกมาจากที่ทรงคิดค้นประดิษฐ์บัตร ส.ค.ส. พระราชทานพรปีใหม่พร้อมคำคมแง่คิดที่เป็นประโยชน์แก่ข้าราชบริพารและประชาชนชาวไทยทุกปี

แม้ว่าในช่วงแรกตั้งแต่พุทธศักราช ๒๕๒๙ เรื่อยมาจะทรงใช้เครื่องเทเล็กซ์หรือโทรพิมพ์ประดิษฐ์บัตร ส.ค.ส. จวบจนพุทธศักราช ๒๕๓๐ ทรงเปลี่ยนเทคโนโลยีการประดิษฐ์บัตร ส.ค.ส. มาทรงใช้คอมพิวเตอร์ประดิษฐ์ ทรงใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ประดิษฐ์เป็นลวดลายต่างๆ ที่มีความสวยงามมากยิ่งขึ้น จวบจนปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานบัตร ส.ค.ส. พระราชทานพรปีใหม่แล้วจำนวน ๒๐ บัตร

นอกจากนี้ ทรงสามารถสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการประมวลผลข้อมูลต่างๆ รวมถึงทรงประดิษฐ์ Font หรือรูปแบบตัวอักษรที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เอง ทรงตั้งชื่อแบบ อักษรนั้นตามสถานที่ประทับ ณ ขณะที่ทรงสร้างแบบขึ้นเช่น Font จิตรลดา Font ภูพิงค์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังทรงศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตัวอักษรเทวนาครีหรือที่ทรงเรียกว่า "ภาษาแขก" ด้วยพระองค์เอง นับว่า ทรงเป็นนักประดิษฐ์โปรแกรมตัวอักษรเทวนาครีขึ้นเป็นคนแรกในประเทศไทย

จากความสนพระราชหฤทัย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นผู้จุดประกายให้แก่วงการคอมพิวเตอร์ของไทยให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเรื่อยมาจวบจนถึงปัจจุบัน

อาจกล่าวได้ว่า ในการทรงงานอดิเรกของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ประชาชนเนื่องเพราะไม่ว่าพระองค์จะทรงงานอดิเรกใด แม้พระราชประสงค์จะเพื่อความสำราญพระราชหฤทัย แต่ก็ทรงงาน อย่างจริงจัง เอาพระราชหฤทัยใส่ และทรงพัฒนาให้ถึงที่สุดจนคุณประโยชน์จากงานอดิเรกนั้นได้สร้างคุณูปการให้แก่ประเทศชาติเป็นอย่างยิ่ง



ดูเพิ่มเติม ส.ค.ส.พระราชทาน