ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กังหันน้ำชัยพัฒนา"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) (สร้างหน้าใหม่: <div id="bg_g1t"> </div> <div id="bg_g1"> __NOTOC__ <center><h1>กังหันน้ำชัยพัฒนา</h1></center> <div class="kindent"...) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 5: | แถว 5: | ||
<center><h1>กังหันน้ำชัยพัฒนา</h1></center> | <center><h1>กังหันน้ำชัยพัฒนา</h1></center> | ||
− | <div class="kindent">กังหันน้ำชัยพัฒนา หรือเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนซ้ายแบบทุ่นลอย เป็นอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียชนิดหนึ่ง มีลักษณะการทำงานคล้ายกังหันวิดน้ำขึ้นเหนือผิวน้ำเพื่อเติมอากศหรือออกซิเจนในแหล่งน้ำ เกิดขึ้นในช่วงที่ประเทศไทยเริ่มเผชิญหน้ากับปัญหาน้ำเสีย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาและประดิษฐ์อุปกรณ์เติมอากาศขึ้นเมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๑ แล้วทรงมอบหมายมูลนิธิชัยพัฒนาศึกษาวิจัยเพื่อทำต้นแบบพร้อมสนับสนุนงบประมาณให้กรมชลประทานสร้าง นำไปใช้งานตามแหล่งน้ำเสียเทั่วประเทศ | + | <div class="kindent">กังหันน้ำชัยพัฒนา หรือเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนซ้ายแบบทุ่นลอย เป็นอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียชนิดหนึ่ง มีลักษณะการทำงานคล้ายกังหันวิดน้ำขึ้นเหนือผิวน้ำเพื่อเติมอากศหรือออกซิเจนในแหล่งน้ำ เกิดขึ้นในช่วงที่ประเทศไทยเริ่มเผชิญหน้ากับปัญหาน้ำเสีย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาและประดิษฐ์อุปกรณ์เติมอากาศขึ้นเมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๑ แล้วทรงมอบหมายมูลนิธิชัยพัฒนาศึกษาวิจัยเพื่อทำต้นแบบพร้อมสนับสนุนงบประมาณให้กรมชลประทานสร้าง นำไปใช้งานตามแหล่งน้ำเสียเทั่วประเทศ กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายการจด[[สิทธิบัตร]]การประดิษฐ์เลขที่ ๓๑๒๗ และองค์กรนักประดิษฐ์โลกจากประเทศเบลเยียมได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย[[รางวัลฯ-บรัสเซลส์ยูเรก้า|รางวัลในฐานะที่ทรงสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม]] |
+ | </div> | ||
− | [[ภาพ:แผนภูมิกังหันน้ำชัยพัฒนา.jpg|frame|ภาพจากwww.chaipat.or.th]] | + | [[ภาพ:แผนภูมิกังหันน้ำชัยพัฒนา.jpg|frame|center|ภาพจากwww.chaipat.or.th]] |
− | ในช่วงพุทธศักราช | + | |
+ | <div class="kindent">ในช่วงพุทธศักราช | ||
รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:20, 10 พฤศจิกายน 2551
กังหันน้ำชัยพัฒนา
กังหันน้ำชัยพัฒนา หรือเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนซ้ายแบบทุ่นลอย เป็นอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียชนิดหนึ่ง มีลักษณะการทำงานคล้ายกังหันวิดน้ำขึ้นเหนือผิวน้ำเพื่อเติมอากศหรือออกซิเจนในแหล่งน้ำ เกิดขึ้นในช่วงที่ประเทศไทยเริ่มเผชิญหน้ากับปัญหาน้ำเสีย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาและประดิษฐ์อุปกรณ์เติมอากาศขึ้นเมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๑ แล้วทรงมอบหมายมูลนิธิชัยพัฒนาศึกษาวิจัยเพื่อทำต้นแบบพร้อมสนับสนุนงบประมาณให้กรมชลประทานสร้าง นำไปใช้งานตามแหล่งน้ำเสียเทั่วประเทศ กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ ๓๑๒๗ และองค์กรนักประดิษฐ์โลกจากประเทศเบลเยียมได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลในฐานะที่ทรงสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม
ในช่วงพุทธศักราช