ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทำปุ๋ยหมักจากขยะโดยการฝังกลบในกล่องคอนกรีต"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 44: | แถว 44: | ||
</center> | </center> | ||
+ | ==='''จำนวนกล่องหรือบ่อคอนกรีตเท่าไรจึงจะพอในการหมัก'''=== | ||
+ | <div class="kindent">การกำหนดจำนวนของกล่องหรือบ่อคอนกรีตที่จะนำมาใช้ในการหมักปุ๋ยจากขยะนั้นขึ้นอยู่กับจำนวนคน เพราะถ้าจำนวนคนมาก ขยะแต่ละวันก็จะมาก คนน้อยขยะแต่ละวันก็จะน้อย โดยทั่วไปคนในเขตชุมชนจะทิ้งขยะประมาณ 1 กินโลกรัมต่อคนต่อวัน ซึ่งประมาณครึ่งหนึ่งจะเป็นขยะที่ย่อยสลายง่าย ดังนั้นจึงมีขยะที่นำไปใช้หมักได้เพียง 0.5 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน กล่องหรือบ่อคอนกรีตที่ใช้ในการหมักสามารถรองรับขยะได้ดังนี้ คือ | ||
+ | 1) กล่องคอนกรีต ขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 3 เมตร สูง 1.5 เมตร สามารถหมักปุ๋ยจากขยะได้สูงสุดเท่ากับ 6 ลูกบาศก์เมตร หรือ 2,000 กิโลกรัม | ||
+ | 2) บ่อคอนกรีต ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร สูง 1.5 เมตร สามารถหมักปุ๋ยจากขยะได้สูงสุด 1 ลูกบาศก์เมตร หรือ 300 กิโลกรัม</dvi> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | ==='''จะต้องเตรียมการอย่างไร'''=== | ||
+ | <div class="kindent">1) ต้องเลือกและเตรียมพื้นที่ | ||
+ | |||
+ | การเลือกพื้นที่ที่จะใช้ในการตั้งกล่องหรือบ่อคอนกรีตเพื่อทำปุ๋ยหมักจากขยะด้วยการฝังกลบประยุกต์ จึงสมควรเลือกหรือหาพื้นที่ที่จะไม่ให้เกิดปัญหากลิ่นเหม็น และการซึมของน้ำชะขยะ ควรเลือกดังนี้คือ | ||
+ | |||
+ | (1) ควรให้อยู่ห่างจากชุมชนพอสมควร แต่ต้องไม่มากเกินไปเพราะจะทำให้เกิดความลำบากและยุ่งยากในการขนย้ายขยะ ไม่ควรเกินกว่า 500 เมตร | ||
+ | |||
+ | (2) ควรเลือกพื้นที่ที่มีทิศทางลมพัดผ่านชุมชนน้อยที่สุด และควรปลูกต้นไม้ล้อมรอบพื้นที่ดำเนินการ | ||
+ | |||
+ | (3) ห่างจากแม่น้ำ คู คลอง หนองและบึง | ||
+ | |||
+ | (4) มีพื้นที่เพียงพอสำหรับจำนวนของกล่องหรือบ่อคอนกรีตที่ต้องใช้ | ||
+ | </div> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | <div class="kindent">2) วัสดุอุปกรณ์ | ||
+ | |||
+ | (1) กล่องคอนกรีตขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 3 เมตร สูง 1.5 เมตร หรือบ่อคอนกรีตชนิดกลมเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร สูง 1.5 เมตร | ||
+ | |||
+ | (2) ขยะสดที่ผ่านการคัดแยกแล้ว | ||
+ | |||
+ | (3) ดินแดง หรือดินธรรมดาทั่วไป (ย่อยให้มีขนาดเล็ก) | ||
+ | |||
+ | (4) ทรายละเอียด | ||
+ | |||
+ | (5) ถ่านไม้ | ||
+ | |||
+ | (6) น้ำ บัวรดน้ำ | ||
+ | |||
+ | (7) รองเท้ายางทรงสูง (คลุมถึงส่วนหน้าแข้ง) | ||
+ | </div> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | <div class="kindent">3) การแยกและเตรียมขยะมูลฝอย | ||
+ | |||
+ | ก่อนถึงขั้นตอนการนำขยะมาหมักทำปุ๋ยนั้น จะต้องทำการแยกและเตรียมขยะมูลฝอยชุมชนที่รวบรวมมาทั้งหมด โดยการคัดแยกขยะที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ออกไปก่อน ซึ่งจะแบ่งขยะเหล่านั้นออกเป็น 3 พวก และรวบรวมเป็น 3 ถังขยะด้วยกันคือ | ||
+ | </div> | ||
+ | |||
+ | [[ภาพ:การแยกและเตรียมขยะ.jpg|center]] | ||
+ | |||
+ | <div class="kindent">สำหรับขยะมูลฝอยที่เหมาะสมมากที่สุดในการนำขยะมาหมักทำปุ๋ยก็คือ ขยะเน่าเสียง่ายนั่นเอง การเตรียมขยะในการหมักถ้าสามารถทำการบดย่อยมูลฝอยเหล่านี้ให้มีขนาดเล็กลงจะเป็นการเสริมสร้างให้กระบวนการหมักได้ผลดีและรวดเร็วยิ่งขึ้น</div> | ||
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]] | [[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:23, 11 สิงหาคม 2551
เทคโนโลยีการกำจัดขยะตามแนวพระราชดำริ
การทำปุ๋ยหมักจากขยะโดยการฝังกลบในกล่องคอนกรีต
การกำจัดขยะมูลฝอยชุมชนด้วยเทคโนโลยีการหมักทำปุ๋ยโดยการใช้กล่องและบ่อคอนกรีตแบบฝังกลบประยุกต์
หลัการแหละเหุตผล
วัตถุประสงค์
- เพื่อเผยแพร่เทคโนโลยีการจัดการขยะมูลฝอยให้กับหน่วยงาน และประชาชนผู้สนใจนำไปใช้ปฏิบัติได้อย่างแพร่หลาย
- เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อมขยะมูลฝอยชุมชนด้วยเทคโนโลยีการหมักทำปุ๋ยแบบฝังกลบประยุกต์
- เพื่อให้เกิดความสะดวกในการนำไปปฏิบัติ ประหยัดค่าใช้จ่าย และง่ายในการนำไปใช้ประโยชน์
ลักษณะการหมักทำปุ๋ยจากขยะในกล่องและบ่อคอนกรีต โดยการฝังกลบประยุกต์
1) การหมักปุ๋ย โดยวิธีการฝังกลบประยุกต์ด้วยการใช้กล่องคอนกรีต 2) การหมักปุ๋ย โดยวิธีการฝังกลบประยุกต์ด้วยการใช้บ่อคอนกรีตชนิดกลม
แต่ละรูปแบบอาศัยหลักการธรรมชาติช่วยธรรมชาติเหมือนกัน และเหมาะสมกับการนำไปประยุกต์ใช้ได้กับชุมชนและตามครัวเรือน ซึ่งทั้งสองรูปแบบมีการบรรจุขยะลงกล่องหรือบ่อคอนกรีตในการหมักที่ไม่แตกต่างกัน แต่จะต่างกันที่ขั้นตอนในช่วงขณะการหมักเท่านั้น ซึ่งมีรายละเอียดและรูปแบบของกล่องและบ่อคอนกรีตตามภาพที่ 1 และภาพที่ 2ภาพที่ 1 ลักษณะของกล่องคอนกรีตที่ใช้ในการฝังกลบประยุกต์เพื่อทำปุ๋ยหมักจากขยะสำหรับชุมชน
ภาพที่ 2 ลักษณะของบ่อคอนกรีตที่ใช้ในการฝังกลบประยุกต์เพื่อทำปุ๋ยหมักจากขยะแบบปิดฝา
จำนวนกล่องหรือบ่อคอนกรีตเท่าไรจึงจะพอในการหมัก
1) กล่องคอนกรีต ขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 3 เมตร สูง 1.5 เมตร สามารถหมักปุ๋ยจากขยะได้สูงสุดเท่ากับ 6 ลูกบาศก์เมตร หรือ 2,000 กิโลกรัม
2) บ่อคอนกรีต ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร สูง 1.5 เมตร สามารถหมักปุ๋ยจากขยะได้สูงสุด 1 ลูกบาศก์เมตร หรือ 300 กิโลกรัม</dvi>
จะต้องเตรียมการอย่างไร
การเลือกพื้นที่ที่จะใช้ในการตั้งกล่องหรือบ่อคอนกรีตเพื่อทำปุ๋ยหมักจากขยะด้วยการฝังกลบประยุกต์ จึงสมควรเลือกหรือหาพื้นที่ที่จะไม่ให้เกิดปัญหากลิ่นเหม็น และการซึมของน้ำชะขยะ ควรเลือกดังนี้คือ
(1) ควรให้อยู่ห่างจากชุมชนพอสมควร แต่ต้องไม่มากเกินไปเพราะจะทำให้เกิดความลำบากและยุ่งยากในการขนย้ายขยะ ไม่ควรเกินกว่า 500 เมตร
(2) ควรเลือกพื้นที่ที่มีทิศทางลมพัดผ่านชุมชนน้อยที่สุด และควรปลูกต้นไม้ล้อมรอบพื้นที่ดำเนินการ
(3) ห่างจากแม่น้ำ คู คลอง หนองและบึง
(4) มีพื้นที่เพียงพอสำหรับจำนวนของกล่องหรือบ่อคอนกรีตที่ต้องใช้
(1) กล่องคอนกรีตขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 3 เมตร สูง 1.5 เมตร หรือบ่อคอนกรีตชนิดกลมเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร สูง 1.5 เมตร
(2) ขยะสดที่ผ่านการคัดแยกแล้ว
(3) ดินแดง หรือดินธรรมดาทั่วไป (ย่อยให้มีขนาดเล็ก)
(4) ทรายละเอียด
(5) ถ่านไม้
(6) น้ำ บัวรดน้ำ
(7) รองเท้ายางทรงสูง (คลุมถึงส่วนหน้าแข้ง)
ก่อนถึงขั้นตอนการนำขยะมาหมักทำปุ๋ยนั้น จะต้องทำการแยกและเตรียมขยะมูลฝอยชุมชนที่รวบรวมมาทั้งหมด โดยการคัดแยกขยะที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ออกไปก่อน ซึ่งจะแบ่งขยะเหล่านั้นออกเป็น 3 พวก และรวบรวมเป็น 3 ถังขยะด้วยกันคือ