ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้ากรองน้ำเสีย"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) (→ติดต่อคณะวิจัย) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 15: | แถว 15: | ||
3) เพื่อพัฒนารูปแบบเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้าอาหารสัตว์ กรองน้ำเสีย ให้สามารถนำไปปฏิบัติโดยประหยัดค่าใช้จ่าย และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการเลี้ยงสัตว์ | 3) เพื่อพัฒนารูปแบบเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้าอาหารสัตว์ กรองน้ำเสีย ให้สามารถนำไปปฏิบัติโดยประหยัดค่าใช้จ่าย และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการเลี้ยงสัตว์ | ||
</div> | </div> | ||
+ | |||
=='''ลักษณะเทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยหญ้ากรองน้ำเสีย'''== | =='''ลักษณะเทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยหญ้ากรองน้ำเสีย'''== | ||
<div class="kindent">รูปแบบเทคโนโลยีบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้ากรองน้ำเสียที่ได้ทำการศึกษาวิจัยและพัฒนาขึ้น ยึดหลักการตามแนวพระราชดำริโดยการทำแปลงและ/หรือบ่อเพื่อกักเก็บน้ำเสียที่ได้จากชุมชน และปลูกหญ้าอาหารสัตว์ที่ผ่านการคัดเลือกว่าเหมาะสม 3 ชนิด คือ หญ้าสตาร์ หญ้าคาลลา และหญ้าโคสครอสช่วยในการบำบัดน้ำเสียอาศัยการกรองน้ำเสียขณะที่ไหลผ่านแปลงหญ้าและการปลดปล่อยก๊าซออกซิเจนที่ได้จากการสังเคราะห์แสงให้กับน้ำเสียนั้น ร่วมกับการใช้ดินผสมทรายช่วยในการกรองน้ำเสีย และการย่อยสลายสารอินทรีย์ โดยจุลินทรีย์ในดิน เพื่อให้การบำบัดน้ำเสียมีประสิทธิภาพมากขึ้น สำหรับเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นจะมีลักษณะการให้น้ำเสียหรือระบายน้ำเสียเข้าสู่ระบบ คือ ระบบที่ให้น้ำเสียขังไว้ 5 วัน และปล่อยทิ้งไว้ให้แห้ง 2 วัน เพื่อให้จุลินทรีย์ในดินมีโอกาสได้พักตัว และระบายน้ำที่ผ่านการบำบัดออกจากระบบโดยปล่อยระบายน้ำทางระบบท่อใต้ดินสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ เมื่ออายุของหญ้าครบระยะเวลาที่ใช้ในการบำบัดจะตัดหญ้านั้นออกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดให้กับระบบ หญ้าที่ตัดออกเหล่านี้สามารถนำไปใช้เลี้ยงสัตว์ได้ ซึ่งรูปแบบโดยสังเขปของเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้ากรองน้ำเสียและลักษณะพืชที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียดังแสดงในภาพที่ 1 และ 2 | <div class="kindent">รูปแบบเทคโนโลยีบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้ากรองน้ำเสียที่ได้ทำการศึกษาวิจัยและพัฒนาขึ้น ยึดหลักการตามแนวพระราชดำริโดยการทำแปลงและ/หรือบ่อเพื่อกักเก็บน้ำเสียที่ได้จากชุมชน และปลูกหญ้าอาหารสัตว์ที่ผ่านการคัดเลือกว่าเหมาะสม 3 ชนิด คือ หญ้าสตาร์ หญ้าคาลลา และหญ้าโคสครอสช่วยในการบำบัดน้ำเสียอาศัยการกรองน้ำเสียขณะที่ไหลผ่านแปลงหญ้าและการปลดปล่อยก๊าซออกซิเจนที่ได้จากการสังเคราะห์แสงให้กับน้ำเสียนั้น ร่วมกับการใช้ดินผสมทรายช่วยในการกรองน้ำเสีย และการย่อยสลายสารอินทรีย์ โดยจุลินทรีย์ในดิน เพื่อให้การบำบัดน้ำเสียมีประสิทธิภาพมากขึ้น สำหรับเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นจะมีลักษณะการให้น้ำเสียหรือระบายน้ำเสียเข้าสู่ระบบ คือ ระบบที่ให้น้ำเสียขังไว้ 5 วัน และปล่อยทิ้งไว้ให้แห้ง 2 วัน เพื่อให้จุลินทรีย์ในดินมีโอกาสได้พักตัว และระบายน้ำที่ผ่านการบำบัดออกจากระบบโดยปล่อยระบายน้ำทางระบบท่อใต้ดินสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ เมื่ออายุของหญ้าครบระยะเวลาที่ใช้ในการบำบัดจะตัดหญ้านั้นออกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดให้กับระบบ หญ้าที่ตัดออกเหล่านี้สามารถนำไปใช้เลี้ยงสัตว์ได้ ซึ่งรูปแบบโดยสังเขปของเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้ากรองน้ำเสียและลักษณะพืชที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียดังแสดงในภาพที่ 1 และ 2 | ||
+ | </div> | ||
+ | |||
[[ภาพ:ระบบหญ้า1.jpg|center]] | [[ภาพ:ระบบหญ้า1.jpg|center]] | ||
<center>ภาพที่ 1 ลักษณะสังเขปรูปแบบเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้ากรองน้ำเสีย</center> | <center>ภาพที่ 1 ลักษณะสังเขปรูปแบบเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้ากรองน้ำเสีย</center> | ||
แถว 32: | แถว 35: | ||
# กรวดขนาด 1-2 นิ้ว จำนวน 1/4 ลูกบาศก์เมตร | # กรวดขนาด 1-2 นิ้ว จำนวน 1/4 ลูกบาศก์เมตร | ||
# ท่อ PVC เส้นผ่านศูนย์กลาง 6 นิ้ว ยาว 3 เมตร | # ท่อ PVC เส้นผ่านศูนย์กลาง 6 นิ้ว ยาว 3 เมตร | ||
+ | |||
=='''การก่อสร้างระบบหญ้ากรองน้ำเสีย'''== | =='''การก่อสร้างระบบหญ้ากรองน้ำเสีย'''== | ||
แถว 48: | แถว 52: | ||
3) จากนั้นใส่ดินผสมทรายที่เตรียมไว้ในสัดส่วน ดิน 3 ส่วน ทราย 1 ส่วน และผสมให้เข้ากันลงในแปลงเกลี่ยให้มีความสม่ำเสมอ และให้มีความสูงจากท้องแปลง 50 เซนติเมตร มีลักษณะเหมือนกับภาพประกอบ | 3) จากนั้นใส่ดินผสมทรายที่เตรียมไว้ในสัดส่วน ดิน 3 ส่วน ทราย 1 ส่วน และผสมให้เข้ากันลงในแปลงเกลี่ยให้มีความสม่ำเสมอ และให้มีความสูงจากท้องแปลง 50 เซนติเมตร มีลักษณะเหมือนกับภาพประกอบ | ||
+ | </div> | ||
[[ภาพ:ภาพส่วนขยาย.jpg|center]] | [[ภาพ:ภาพส่วนขยาย.jpg|center]] | ||
แถว 72: | แถว 77: | ||
4) ดูแลบำรุกรักษา เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ | 4) ดูแลบำรุกรักษา เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ | ||
+ | </div> | ||
+ | |||
=='''การปลูกพืช'''== | =='''การปลูกพืช'''== | ||
− | 1) เติมน้ำใส่แปลงเพื่อให้เนื้อดินในแปลงเกิดความชุ่มชื้นและนิ่มจะได้ปลูกหญ้าได้สะดวก | + | <div class="kindent">1) เติมน้ำใส่แปลงเพื่อให้เนื้อดินในแปลงเกิดความชุ่มชื้นและนิ่มจะได้ปลูกหญ้าได้สะดวก |
2) ทำการปลูกหญ้าที่เตรียมไว้ลงแปลง โดยให้มีระยะห่างระหว่างแถวและต้น เท่ากับ 50 เซนติเมตร ดังภาพที่ 7 | 2) ทำการปลูกหญ้าที่เตรียมไว้ลงแปลง โดยให้มีระยะห่างระหว่างแถวและต้น เท่ากับ 50 เซนติเมตร ดังภาพที่ 7 | ||
3) ดูแลหรืออนุบาลด้วยการใช้น้ำเสียเพื่อให้หญ้าที่ปลูกไว้ปรับตัว 1 สัปดาห์ ก่อนการบำบัดน้ำเสีย | 3) ดูแลหรืออนุบาลด้วยการใช้น้ำเสียเพื่อให้หญ้าที่ปลูกไว้ปรับตัว 1 สัปดาห์ ก่อนการบำบัดน้ำเสีย | ||
+ | </div> | ||
[[ภาพ:ระยะห่างระหว่างแถว.jpg|center]] | [[ภาพ:ระยะห่างระหว่างแถว.jpg|center]] | ||
<center>ภาพที่ 7 ระยะห่างระหว่างแถว และต้นในการปลูกพืชในแปลงระบบหญ้ากรองน้ำเสีย</center> | <center>ภาพที่ 7 ระยะห่างระหว่างแถว และต้นในการปลูกพืชในแปลงระบบหญ้ากรองน้ำเสีย</center> | ||
+ | |||
=='''การดำเนินการบำบัดน้ำเสีย'''== | =='''การดำเนินการบำบัดน้ำเสีย'''== | ||
− | เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้ากรองน้ำเสียสามารถใช้ระบบการระบายน้ำเสียเข้าสู่ระบบบำบัด โดยระบายน้ำเสียเข้าสู่ระบบให้ได้ระดับ 30 เซนติเมตร จากระดับพื้นผิวดินบริเวณตอนท้ายแปลง ปล่อยน้ำเสียขังไว้ 5 วัน (ภาพที่ 8) จากนั้นจึงระบายน้ำที่ผ่านการบำบัดออกทางระบบระบายน้ำใต้ดินสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ แล้วปล่อยทิ้งไว้ให้แห้ง 2 วัน จึงเติมน้ำเสียใหม่ ลงสู่แปลงบำบัดต่อไป ซึ่งระบบมีประสิทธิภาพในการกรองบำบัดน้ำเสียได้ดีเพียงพอ และสามารถรองรับน้ำเสียได้วันละประมาณ 75 ลูกบาศก์เมตรต่อสัปดาห์ หรือสามารถรองรับน้ำเสียจำนวนประชากร 375 คนต่อสัปดาห์ | + | <div class="kindent">เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้ากรองน้ำเสียสามารถใช้ระบบการระบายน้ำเสียเข้าสู่ระบบบำบัด โดยระบายน้ำเสียเข้าสู่ระบบให้ได้ระดับ 30 เซนติเมตร จากระดับพื้นผิวดินบริเวณตอนท้ายแปลง ปล่อยน้ำเสียขังไว้ 5 วัน (ภาพที่ 8) จากนั้นจึงระบายน้ำที่ผ่านการบำบัดออกทางระบบระบายน้ำใต้ดินสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ แล้วปล่อยทิ้งไว้ให้แห้ง 2 วัน จึงเติมน้ำเสียใหม่ ลงสู่แปลงบำบัดต่อไป ซึ่งระบบมีประสิทธิภาพในการกรองบำบัดน้ำเสียได้ดีเพียงพอ และสามารถรองรับน้ำเสียได้วันละประมาณ 75 ลูกบาศก์เมตรต่อสัปดาห์ หรือสามารถรองรับน้ำเสียจำนวนประชากร 375 คนต่อสัปดาห์ |
+ | </div> | ||
[[ภาพ:การระบายน้ำเข้าแปลงบำบัด.jpg|center]] | [[ภาพ:การระบายน้ำเข้าแปลงบำบัด.jpg|center]] | ||
แถว 94: | แถว 104: | ||
[[ภาพ:การตัดหญ้า.jpg|center]] | [[ภาพ:การตัดหญ้า.jpg|center]] | ||
<center>ภาพที่ 9 แปลงระบบหญ้ากรองน้ำเสียก่อนและหลังทำการตัดหญ้าออกภายหลังครบเวลา 45 วัน</center> | <center>ภาพที่ 9 แปลงระบบหญ้ากรองน้ำเสียก่อนและหลังทำการตัดหญ้าออกภายหลังครบเวลา 45 วัน</center> | ||
− | + | ||
=='''การบำรุงรักษา'''== | =='''การบำรุงรักษา'''== | ||
แถว 105: | แถว 115: | ||
=='''ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างระบบหญ้ากรองน้ำเสีย'''== | =='''ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างระบบหญ้ากรองน้ำเสีย'''== | ||
− | + | <div class="kindent"> | |
1) ค่าก่อสร้างบ่อคอนกรีตขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 1.00 เมตร ลึก 1.00 เมตร เป็นเงิน 5,000 บาท | 1) ค่าก่อสร้างบ่อคอนกรีตขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 1.00 เมตร ลึก 1.00 เมตร เป็นเงิน 5,000 บาท | ||
แถว 121: | แถว 131: | ||
'''รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 87,850 บาท''' | '''รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 87,850 บาท''' | ||
+ | </div> | ||
+ | |||
=='''ความเหมาะสมในการใช้เทคโนโลยี'''== | =='''ความเหมาะสมในการใช้เทคโนโลยี'''== |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:08, 14 พฤษภาคม 2551
เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียตามแนวพระราชดำริ
การบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้ากรองน้ำเสีย
เนื้อหา
- 1 หลักการและเหตุผล
- 2 วัตถุประสงค์
- 3 ลักษณะเทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยหญ้ากรองน้ำเสีย
- 4 วัสดุอุปกรณ์
- 5 การก่อสร้างระบบหญ้ากรองน้ำเสีย
- 6 การปลูกพืช
- 7 การดำเนินการบำบัดน้ำเสีย
- 8 การบำรุงรักษา
- 9 ระยะเวลาการใช้งานระบบหญ้ากรองน้ำเสีย
- 10 ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างระบบหญ้ากรองน้ำเสีย
- 11 ความเหมาะสมในการใช้เทคโนโลยี
- 12 ผลผลิตของหญ้า
- 13 ติดต่อคณะวิจัย
หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์
2) เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านน้ำเสียชุมชน ด้วยเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยการใช้ระบบหญ้าอาหารสัตว์กรองน้ำเสีย
3) เพื่อพัฒนารูปแบบเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้าอาหารสัตว์ กรองน้ำเสีย ให้สามารถนำไปปฏิบัติโดยประหยัดค่าใช้จ่าย และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการเลี้ยงสัตว์
ลักษณะเทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยหญ้ากรองน้ำเสีย
วัสดุอุปกรณ์
- บ่อคอนกรีตขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 1 เมตร ลึก 1.00 เมตร
- บ่อดินขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 50 เมตร ลึก 1.10 เมตร
- ทรายหยาบ จำนวน 50 ลูกบาศก์เมตร
- ดินผสมทราย ในสัดส่วน ดิน 3 ส่วน ทราย 1 ส่วน จำนวน 125 ลูกบาศก์เมตร
- ต้นกล้าหญ้าอาหารสัตว์ จำนวน 1,250 ต้น
- กรวดขนาด 1-2 นิ้ว จำนวน 1/4 ลูกบาศก์เมตร
- ท่อ PVC เส้นผ่านศูนย์กลาง 6 นิ้ว ยาว 3 เมตร
การก่อสร้างระบบหญ้ากรองน้ำเสีย
ขั้นที่ 1 การสร้างบ่อดักตะกอน
ขั้นที่ 2 การก่อสร้างแปลงหญ้ากรองน้ำเสีย
2) ใส่ทรายหยาบรองพื้นในแปลงเกลี่ยให้สม่ำเสมอทั่วทั้งแปลงและอัดให้แน่นหนา 20 เซนติเมตร
3) จากนั้นใส่ดินผสมทรายที่เตรียมไว้ในสัดส่วน ดิน 3 ส่วน ทราย 1 ส่วน และผสมให้เข้ากันลงในแปลงเกลี่ยให้มีความสม่ำเสมอ และให้มีความสูงจากท้องแปลง 50 เซนติเมตร มีลักษณะเหมือนกับภาพประกอบ
ขั้นที่ 3 การเตรียมต้นพันธุ์หญ้าและการปลูก
การจัดเตรียมต้นหญ้าที่จะใช้ปลูกในแปลงระบบหญ้ากรองน้ำเสียดำเนินการไปพร้อมกับการก่อสร้างระบบแปลงหญ้ากรองฯ ซึ่งแหล่งของต้นหญ้าสามารถหาได้จากกรมพัฒนาที่ดิน และกรมปศุสัตว์ ในการจัดการเตรียมต้นกล้าหญ้า สามารถกระทำได้เป็นลำดับดังนี้
1) เตรียมพื้นที่สำหรับการเพาะชำและอนุบาลต้นกล้าหญ้า ซึ่งอาจใช้แปลงขนาดเล็กๆ หรือใช้ถุงพลาสติกสีดำขนาด 6 นิ้ว พร้อมทั้งใส่ดินที่ค่อนข้างเหลวลงไป
2) นำไปปักชำลงในแปลงหรือถุงเพาะชำที่จัดเตรียมไว้
3) ทำการตัดแต่งกอให้สมบูรร์ ยาวประมาณ 1 ฟุต
4) ดูแลบำรุกรักษา เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์
การปลูกพืช
2) ทำการปลูกหญ้าที่เตรียมไว้ลงแปลง โดยให้มีระยะห่างระหว่างแถวและต้น เท่ากับ 50 เซนติเมตร ดังภาพที่ 7
3) ดูแลหรืออนุบาลด้วยการใช้น้ำเสียเพื่อให้หญ้าที่ปลูกไว้ปรับตัว 1 สัปดาห์ ก่อนการบำบัดน้ำเสีย
การดำเนินการบำบัดน้ำเสีย
การบำรุงรักษา
ระยะเวลาการใช้งานระบบหญ้ากรองน้ำเสีย
ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างระบบหญ้ากรองน้ำเสีย
1) ค่าก่อสร้างบ่อคอนกรีตขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 1.00 เมตร ลึก 1.00 เมตร เป็นเงิน 5,000 บาท
2) ค่าก่อสร้างบ่อดินขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 50 เมตร ลึก 1.10 เมตร เป็นเงิน 40,000 บาท
3) ทรายหยาบ จำนวน 50 ลูกบาศก์เมตร เป็นเงิน 12,500 บาท
4) ดินผสมทราย ในสัดส่วน 3:1 จำนวน 125 ลูกบาศก์เมตร เป็นเงิน 27,000 บาท
5) ต้นกล้าพันธุ์หญ้า จำนวน 1,250 ต้น เป็นเงิน 2,500 บาท
6) กรวดขนาด 1-2 นิ้ว จำนวน 1/4 ลูกบาศก์เมตร เป็นเงิน 300 บาท
7) ท่อ PVC เส้นผ่านศูนย์กลาง 6 นิ้ว ยาว 3.00 เมตร เป็นเงิน 550 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 87,850 บาท
ความเหมาะสมในการใช้เทคโนโลยี
ผลผลิตของหญ้า
ติดต่อคณะวิจัย
โครงการฯ วิทยาลัยสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทรศัพท์ 0-2561-4754, 0-2942-8727 และ 0-2579-2116
โครงการฯ ตำบลแหลมผักเบี้ย อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี โทรศัพท์ 0-3244-1264 และ 0-3244-1265
ได้ในเวลาราชการ