ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัชกาลที่9"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) (→'''ประมวลคำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณ''') |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) (→'''ประมวลคำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณ''') |
||
แถว 17: | แถว 17: | ||
==='''[[ประมวลคำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณ]]'''=== | ==='''[[ประมวลคำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณ]]'''=== | ||
− | [[ภาพ:องค์การสหประชาชาติ.jpg|120px|left]]พระเกียรติคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในด้านต่าง ๆ | + | [[ภาพ:องค์การสหประชาชาติ.jpg|120px|left]]พระเกียรติคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในด้านต่าง ๆ ไม่เพียงจะเป็นที่ประจักษ์<br />ชัดแก่ใจของคนไทยทั้งชาติเท่านั้น หากแต่ยังได้รับการแซ่ซ้องสดุดีจากสถาบันและ<br />องค์กรต่างประเทศอีกด้วย คณะองคมนตรีตระหนักว่าคำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณ<br />พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ของสถาบันและองค์กรต่างประเทศ ในโอกาสที่ทูลเกล้า<br />ทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ประกาศนียบัตรสมาชิกกิตติมศักดิ์ และ<br />รางวัลต่าง ๆ ตั้งแต่ปีที่เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติถึงปัจจุบัน ล้วนมีเนื้อหาสาระที่ทรงคุณค่า <br />และเป็นประจักษ์พยานสะท้อนให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถอันล้ำเลิศ พระราชจริยวัตรอัน<br />งดงาม และพระราชกรณียกิจที่ทรงบำเพ็ญเพื่อปวงชนชาวไทยตลอดระยะเวลาอันยาวนาน |
</div> | </div> |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:56, 19 มีนาคม 2551
พระราชประวัติ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชสมภพ ณ โรงพยาบาลเมาท์ออเบอร์น (Mount Auburn) เมืองเคมบริดจ์ (Cambridge) รัฐแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts) สหรัฐอเมริกา เมื่อวันจันทร์ เดือนอ้าย ขึ้น ๑๒ ค่ำ ปีเถาะ นพศก จุลศักราช ๑๒๘๙ ตรงกับวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๔๗๐ ทรงเป็นพระโอรสองค์ที่ ๓ ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระนามเดิมว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช
พระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๖ พฤษภาคม ๒๔๖๖ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒๐ กันยายน ๒๔๖๘ ณ เมืองไฮเดลเบอร์ก ประเทศเยอรมนี อ่านต่อ
พระราชกรณียกิจ
ระหว่างจัดทำ
ประมวลคำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณ
พระเกียรติคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในด้านต่าง ๆ ไม่เพียงจะเป็นที่ประจักษ์ชัดแก่ใจของคนไทยทั้งชาติเท่านั้น หากแต่ยังได้รับการแซ่ซ้องสดุดีจากสถาบันและ
องค์กรต่างประเทศอีกด้วย คณะองคมนตรีตระหนักว่าคำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ของสถาบันและองค์กรต่างประเทศ ในโอกาสที่ทูลเกล้า
ทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ประกาศนียบัตรสมาชิกกิตติมศักดิ์ และ
รางวัลต่าง ๆ ตั้งแต่ปีที่เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติถึงปัจจุบัน ล้วนมีเนื้อหาสาระที่ทรงคุณค่า
และเป็นประจักษ์พยานสะท้อนให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถอันล้ำเลิศ พระราชจริยวัตรอัน
งดงาม และพระราชกรณียกิจที่ทรงบำเพ็ญเพื่อปวงชนชาวไทยตลอดระยะเวลาอันยาวนาน