ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่6"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) (→ส่วนที่ 1) |
||
แถว 62: | แถว 62: | ||
Image:ทศ6-16.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๒<br />วันที่ ๘ มกราคม เสด็จฯ ไปยังโครงการชลประทาน ฝายแม่มอญ อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง | Image:ทศ6-16.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๒<br />วันที่ ๘ มกราคม เสด็จฯ ไปยังโครงการชลประทาน ฝายแม่มอญ อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง | ||
Image:ทศ6-17.jpg| | Image:ทศ6-17.jpg| | ||
− | Image:ทศ6-18.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๓<br />วันที่ ๒๐ ตุลาคม เสด็จฯ ไปยังบริเวณที่เกิดน้ำท่วมตาม พื้นที่ต่างๆ อย่างไม่มีหมาย กำหนดการและได้พระราชทาน แนวพระราชดำริการป้องกันและ แก้ไขน้ำท่วมกรุงเทพฯ และปริมณฑล | + | Image:ทศ6-18.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๓<br />วันที่ ๒๐ ตุลาคม เสด็จฯ ไปยังบริเวณที่เกิดน้ำท่วมตาม พื้นที่ต่างๆ อย่างไม่มีหมาย กำหนดการและได้พระราชทาน แนวพระราชดำริการป้องกันและ แก้ไขน้ำท่วมกรุงเทพฯ และปริมณฑล<br />[[การแก้ไขปัญหาน้ำท่วม|ดูข้อมูลเกี่ยวข้อง]] |
Image:ทศ6-19.jpg| | Image:ทศ6-19.jpg| | ||
Image:ทศ6-20.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๓<br />วันที่ ๒๐ กันยายน เสด็จฯ ไปยังโครงการระบายน้ำ คลองลานตามแนวพระราช ดำริ บ้านโคกใน ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส | Image:ทศ6-20.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๓<br />วันที่ ๒๐ กันยายน เสด็จฯ ไปยังโครงการระบายน้ำ คลองลานตามแนวพระราช ดำริ บ้านโคกใน ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:57, 14 มีนาคม 2551
ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)
ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)
ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)
ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)
ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)
ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)
ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)
ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ : พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต (พ.ศ. ๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)
จะหาเลี้ยงชีพในท้องที่จะทำอย่างไร และได้เห็นวิทยาการแผนใหม่ จะสามารถที่จะหาดูวิธีการ
ทำมาหากินให้มีประสิทธิภาพ...
...ด้านหนึ่งก็จะเป็นจุดประสงค์ของศูนย์ศึกษาก็เป็นสถานที่สำหรับค้นคว้า วิจัยในท้องที่
เพราะว่าแต่ละท้องที่ ฟ้า อากาศ และประชาชนในท้องที่ต่างๆ กันก็มีลักษณะแตกต่างกันมากเหมือนกัน...
พระราชดำรัส ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๒๖
เนื้อหา
จังหวัดสกลนคร ซึ่งต่อมาได้ดำเนินการก่อสร้างอ่างเก็บน้ำห้วยหวด สามารถเก็บกักน้ำได้จำนวน
๑๗ ล้านลูกบาศก์เมตร และส่งน้ำช่วยเหลือพื้นที่การ เกษตรได้จำนวน ๑๒,๐๐๐ ไร่
ทำให้ราษฎรชาวอีสานได้มีน้ำสำหรับการอุปโภค-บริโภค และทำการเกษตรได้ตลอดปี
จังหวัดนราธิวาส เพื่อที่จะพิจารณาพื้นที่ที่จะสร้างอ่างเก็บน้ำเพื่อไว้ใช้ให้กับราษฎรทั้ง ๓ เขต
ตำบล ในการเดินทางครั้งนี้ทรงเรียกการทรงงานวิบากที่เชิงคีรี ครั้งนี้ภายหลังว่า "สงครามกับ
ตัวยึกยือที่เชิงคีรี" เนื่องจากในการเดินทางครั้งนี้ ต้องทรงพระดำเนินด้วยพระบาทเข้าไปในป่า
ยาง ท่ามกลางฝนตกหนัก โดยมีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามเสด็จ
เป็นระยะทางถึง ๒ กิโลเมตรเศษ
ส่วนที่ 1
พุทธศักราช ๒๕๒๓
วันที่ ๒๐ ตุลาคม เสด็จฯ ไปยังบริเวณที่เกิดน้ำท่วมตาม พื้นที่ต่างๆ อย่างไม่มีหมาย กำหนดการและได้พระราชทาน แนวพระราชดำริการป้องกันและ แก้ไขน้ำท่วมกรุงเทพฯ และปริมณฑล
ดูข้อมูลเกี่ยวข้อง
ส่วนที่ 2
ส่วนที่ 3
เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรแปลง สบู่ดำ ของศูนย์ศึกษา การพัฒนาภูพาน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดสกลนคร
ดูข้อมูลเกี่ยวข้องวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๒ เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรพื้นที่ ฝายต้นน้ำ ศูนย์ศึกษาการ พัฒนาภูพาน อันเนื่องมาจาก พระราชดำริ พระราชทาน พระราชดำริ ให้พิจารณา ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้ำลำธาร โดยใช้ฝายต้นน้ำ (Check Dam)
ส่วนที่ 4
ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"
จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ