ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่6"

(‎)
แถว 18: แถว 18:
 
<div style="float:left">
 
<div style="float:left">
 
<gallery>
 
<gallery>
Image:การกีฬา5.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๐<br /> ทรงเรือใบไมโครมด ซึ่งออกแบบด้วยพระองค์เอง
+
Image:ทศ6-63.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๘<br />วันที่ ๒๐ กันยายน ทรงดำเนิน ด้วยพระบาทเข้าไปในป่ายาง ท่ามกลางฝนตกหนักโดยมี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ตามเสด็จ
 
Image:การกีฬา6.jpg|
 
Image:การกีฬา6.jpg|
 
</gallery>
 
</gallery>
 
</div>
 
</div>
<div style="float:left; padding-left:5px">'''พระมหากษัตริย์ "นักกีฬา"'''
+
<div style="float:left; padding-left:5px">'''สงครามกับตัวยึกยืที่เชิงคีรี : อ่างเก็บน้ำตำบลเชิงคีร'''
  
<div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นตัวแทน<br />ประเทศไทย ลงแข่งขันเรือใบในกีฬาแหลมทองครั้งที่ ๔ <br />ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ พระองค์ทรงชนะเลิศ<br />เหรียญทองการแข่งขันเรือใบประเภทโอเค โดยใช้ <br />'''"เรือใบซุปเปอร์มด"''' ลงแข่งขัน</div>
+
<div class="kindent">เสด็จพระราชดำเนินไปยัง ๓ เขตตำบล คือ เชิงคีรี มะยูง และรือเสาะ อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส เพื่อที่จะพิจารณาพื้นที่ที่จะสร้าง อ่างเก็บน้ำเพื่อไว้ใช้ให้กับราษฎรทั้ง ๓ เขตตำบล ในการเดินทางครั้งนี้ ทรงเรียกการทรงงานวิบากที่เชิงคีรี ครั้งนี้ภายหลังว่า "สงครามกับตัวยึกยือที่เชิงคีรี" เนื่องจากในการเดินทางครั้งนี้ ต้องทรงพระดำเนินด้วยพระบาทเข้าไปในป่ายาง ท่ามกลางฝนตกหนัก โดยมีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามเสด็จเป็นระยะทางถึง ๒ กิโลเมตรเศษ</div>
 
 
<div class="kindent">สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทูลเกล้าฯ<br /> ถวายเหรียญทอง แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ<br />สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา ในการ<br />แข่งเรือใบ ประเภทเรือโอเค เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๑๐ <br />ณ สนามกีฬาแห่งชาติ</div>
 
 
</div>
 
</div>
  

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:47, 14 มีนาคม 2551

ตราสัญลักษณ์80ปี.jpg


ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)

ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)

ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)

ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)

ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)

ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)

ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)

ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)

ทศวรรษที่ ๖ทรงค้นคว้ารูปแบบการบริหารจัดการแนวใหม่
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ : พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต (พ.ศ. ๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)


...เป็นการสาธิตการพัฒนาเบ็ดเสร็จ หมายถึง ทุกสิ่ง ทุกอย่าง ทุกด้านของชีวิตประชาชนที่
จะหาเลี้ยงชีพในท้องที่จะทำอย่างไร และได้เห็นวิทยาการแผนใหม่ จะสามารถที่จะหาดูวิธีการ
ทำมาหากินให้มีประสิทธิภาพ...

...ด้านหนึ่งก็จะเป็นจุดประสงค์ของศูนย์ศึกษาก็เป็นสถานที่สำหรับค้นคว้า วิจัยในท้องที่
เพราะว่าแต่ละท้องที่ ฟ้า อากาศ และประชาชนในท้องที่ต่างๆ กันก็มีลักษณะแตกต่างกันมากเหมือนกัน...

พระราชดำรัส ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๒๖


สงครามกับตัวยึกยืที่เชิงคีรี : อ่างเก็บน้ำตำบลเชิงคีร
เสด็จพระราชดำเนินไปยัง ๓ เขตตำบล คือ เชิงคีรี มะยูง และรือเสาะ อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส เพื่อที่จะพิจารณาพื้นที่ที่จะสร้าง อ่างเก็บน้ำเพื่อไว้ใช้ให้กับราษฎรทั้ง ๓ เขตตำบล ในการเดินทางครั้งนี้ ทรงเรียกการทรงงานวิบากที่เชิงคีรี ครั้งนี้ภายหลังว่า "สงครามกับตัวยึกยือที่เชิงคีรี" เนื่องจากในการเดินทางครั้งนี้ ต้องทรงพระดำเนินด้วยพระบาทเข้าไปในป่ายาง ท่ามกลางฝนตกหนัก โดยมีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามเสด็จเป็นระยะทางถึง ๒ กิโลเมตรเศษ

ส่วนที่ 1

ส่วนที่ 2


ส่วนที่ 3

ส่วนที่ 4



ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"

จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ