ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปริญญาฯ-มหาวิทยาลัยแคนเบอร์รา"

แถว 16: แถว 16:
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ  ด้วยสถานะเช่นนี้  พระองค์ทรงปฏิบัติอย่างเคร่งครัดตามสิทธิ ๓ ประการ  ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ  นั่นคือ  สิทธิที่จะพระราชทานคำแนะนำ  สิทธิที่จะพระราชทานคำปรึกษา  และสิทธิที่จะทรงสนับสนุนและพระราชทานกำลังใจ  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้สิทธิทั้ง ๓ ประการนี้  ในการทรงนำการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทยด้วยพระปรีชาสามารถอันยอดเยี่ยม  ความเป็นรัฐบุรุษของพระองค์ทำให้ทรงสามารถ บรรเทาสถานการณ์ความไม่สงบทางการเมืองได้หลายครั้งหลายครา และนำสันติสุขกลับคืนสู่ฝ่ายที่ขัดแย้งกัน  ของขวัญที่พระองค์พระราชทานแก่พสกนิกรในรูปของระบอบประชาธิปไตยภายใต้ระบบรัฐสภาที่แข็งแกร่ง  เป็นผลจากการทรงเป็นผู้นำที่ทรงพระปรีชาสามารถ</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ  ด้วยสถานะเช่นนี้  พระองค์ทรงปฏิบัติอย่างเคร่งครัดตามสิทธิ ๓ ประการ  ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ  นั่นคือ  สิทธิที่จะพระราชทานคำแนะนำ  สิทธิที่จะพระราชทานคำปรึกษา  และสิทธิที่จะทรงสนับสนุนและพระราชทานกำลังใจ  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้สิทธิทั้ง ๓ ประการนี้  ในการทรงนำการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทยด้วยพระปรีชาสามารถอันยอดเยี่ยม  ความเป็นรัฐบุรุษของพระองค์ทำให้ทรงสามารถ บรรเทาสถานการณ์ความไม่สงบทางการเมืองได้หลายครั้งหลายครา และนำสันติสุขกลับคืนสู่ฝ่ายที่ขัดแย้งกัน  ของขวัญที่พระองค์พระราชทานแก่พสกนิกรในรูปของระบอบประชาธิปไตยภายใต้ระบบรัฐสภาที่แข็งแกร่ง  เป็นผลจากการทรงเป็นผู้นำที่ทรงพระปรีชาสามารถ</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จนิวัตประเทศไทยในพุทธศักราช ๒๔๙๔ อันเป็นช่วงต้นๆ ของรัชสมัยประชาธิปไตยของไทยยังคงเปราะบางมาก  อาจก้าวพลาดได้ง่าย  พระราชบัลลังก์เองก็ยังไม่มั่นคง  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงงานอย่างทุ่มเทไม่ทรงเหน็ดเหนื่อย เพื่อให้ระบอบกษัตริย์ดำเนินสอดประสานไปกับการดำเนินชีวิตของประชาชน  และทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพื่อประโยชน์โดยตรงต่อประชาชน  ลักษณะเฉพาะของรัชสมัยของพระองค์ก็คือ  การเสด็จพระราชดำเนินไปพบปะกับพสกนิกรโดยตรงทุกระดับชั้น  ทั้งผู้ที่ยากไร้และผู้ที่มีฐานะ  การที่พระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมประชาชนในดินแดนที่ทุรกันดารที่สุดของราชอาณาจักร เป็นวิถีที่ถูกต้องที่สุดในการค่อยๆ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยู่ในชนบทที่ห่างไกลความเจริญ</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จนิวัตประเทศไทยในพุทธศักราช ๒๔๙๔ อันเป็นช่วงต้นๆ ของรัชสมัยประชาธิปไตยของไทยยังคงเปราะบางมาก  อาจก้าวพลาดได้ง่าย  พระราชบัลลังก์เองก็ยังไม่มั่นคง  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงงานอย่างทุ่มเทไม่ทรงเหน็ดเหนื่อย เพื่อให้ระบอบกษัตริย์ดำเนินสอดประสานไปกับการดำเนินชีวิตของประชาชน  และทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพื่อประโยชน์โดยตรงต่อประชาชน  ลักษณะเฉพาะของรัชสมัยของพระองค์ก็คือ  การเสด็จพระราชดำเนินไปพบปะกับพสกนิกรโดยตรงทุกระดับชั้น  ทั้งผู้ที่ยากไร้และผู้ที่มีฐานะ  การที่พระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมประชาชนในดินแดนที่ทุรกันดารที่สุดของราชอาณาจักร เป็นวิถีที่ถูกต้องที่สุดในการค่อยๆ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยู่ในชนบทที่ห่างไกลความเจริญ</div>
 +
=== ===
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">ในช่วงต้นแห่งรัชสมัย  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเริ่มการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนถิ่นทุรกันดารหลายครั้ง  ทุกวันนี้นับว่าพระราชกิจประจำที่พระองค์ และพระบรมวงศานุวงศ์จะทรงใช้เวลาปีละ ๖ – ๘ เดือน  เสด็จพระราชดำเนินไปนอกเขตกรุงเทพมหานครเพื่อทรงเยี่ยมราษฎรในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ  โครงการต่างๆ ประมาณ ๒,๐๐๐ โครงการ*  ที่ทรงริเริ่มขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อปรับปรุงชีวิตของชาวชนบทให้ดีขึ้น  กำลังดำเนินตการก้าวหน้าไปโดยมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงกำกับดูแลและพระราชทานคำแนะนำ  ด้วยเหตุนี้  การพัฒนาชนบทจึงเป็นนโยบายหลัก ที่รัฐบาลไทยทุกรัฐบาลเริ่มดำเนินการเพื่อแก้ไขความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ของประชากรในชนบทและในเมือง</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">ในช่วงต้นแห่งรัชสมัย  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเริ่มการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนถิ่นทุรกันดารหลายครั้ง  ทุกวันนี้นับว่าพระราชกิจประจำที่พระองค์ และพระบรมวงศานุวงศ์จะทรงใช้เวลาปีละ ๖ – ๘ เดือน  เสด็จพระราชดำเนินไปนอกเขตกรุงเทพมหานครเพื่อทรงเยี่ยมราษฎรในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ  โครงการต่างๆ ประมาณ ๒,๐๐๐ โครงการ*  ที่ทรงริเริ่มขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อปรับปรุงชีวิตของชาวชนบทให้ดีขึ้น  กำลังดำเนินตการก้าวหน้าไปโดยมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงกำกับดูแลและพระราชทานคำแนะนำ  ด้วยเหตุนี้  การพัฒนาชนบทจึงเป็นนโยบายหลัก ที่รัฐบาลไทยทุกรัฐบาลเริ่มดำเนินการเพื่อแก้ไขความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ของประชากรในชนบทและในเมือง</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริทั้งหลายครอบคลุมสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตในชนบท  รวมถึงการดูแลสุขภาพ  การศึกษา  การอนุรักษ์น้ำและดิน  การทดลองปลูกพืชพันธุ์ชนิดใหม่ๆ และโครงการที่สนับสนุนความเป็นอยู่อย่างพอเพียง  ตลอดจนการขจัดความยากจน  โครงการต่างๆ เหล่านี้  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงกำกับดูแลด้วยการ  “ทรงลงมือ”  ด้วยพระองค์เอง  ได้ทรงงานหนักและ ตรากตรำพระวารกายท่ามกลางพสกนิกรชาวชนบท เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและความเจริญก้าวหน้า</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริทั้งหลายครอบคลุมสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตในชนบท  รวมถึงการดูแลสุขภาพ  การศึกษา  การอนุรักษ์น้ำและดิน  การทดลองปลูกพืชพันธุ์ชนิดใหม่ๆ และโครงการที่สนับสนุนความเป็นอยู่อย่างพอเพียง  ตลอดจนการขจัดความยากจน  โครงการต่างๆ เหล่านี้  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงกำกับดูแลด้วยการ  “ทรงลงมือ”  ด้วยพระองค์เอง  ได้ทรงงานหนักและ ตรากตรำพระวารกายท่ามกลางพสกนิกรชาวชนบท เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและความเจริญก้าวหน้า</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">นอกจากโครงการต่างๆ ที่ทรงอุทิศเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเกษตรแล้ว  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังสนพระราชหฤทัยเป็นอย่างยิ่งที่จะทรงสนับสนุนและอุปถัมภ์การศึกษาด้วย  นับตั้งแต่พุทธศักราช ๒๕๐๒  เมื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตั้งมูลนิธิอานันทมหิดล เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์แห่งสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชรัชกาลที่ ๘  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชทรัพย์เพื่อเป็นทุนไปศึกษาในต่างประเทศ  และยังได้พระราชทานรางวัล และทุนการศึกษาอีกจำนวนมากจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์แก่นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆ</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">นอกจากโครงการต่างๆ ที่ทรงอุทิศเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเกษตรแล้ว  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังสนพระราชหฤทัยเป็นอย่างยิ่งที่จะทรงสนับสนุนและอุปถัมภ์การศึกษาด้วย  นับตั้งแต่พุทธศักราช ๒๕๐๒  เมื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตั้งมูลนิธิอานันทมหิดล เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์แห่งสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชรัชกาลที่ ๘  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชทรัพย์เพื่อเป็นทุนไปศึกษาในต่างประเทศ  และยังได้พระราชทานรางวัล และทุนการศึกษาอีกจำนวนมากจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์แก่นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆ</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">เพื่อช่วยเหลือเด็กและเยาวชนในพื้นที่ห่างไกลและมีสภาพแวดล้อมที่ยากไร้ขัดสน  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างโรงเรียน  ทำให้เด็กมีโอกาสทางการศึกษา  ซึ่งก่อนหน้านั้นเป็นเรื่องที่ไกลเกินเอื้อมสำหรับพวกเขา  โรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ดังกล่าวส่วนมากตั้งอยู่ในภาคเหนือ  บุตรหลานของชาวไทยภูเขามีโอกาสได้เรียนในโรงเรียนที่มีชื่อว่า  “โรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์”</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">เพื่อช่วยเหลือเด็กและเยาวชนในพื้นที่ห่างไกลและมีสภาพแวดล้อมที่ยากไร้ขัดสน  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างโรงเรียน  ทำให้เด็กมีโอกาสทางการศึกษา  ซึ่งก่อนหน้านั้นเป็นเรื่องที่ไกลเกินเอื้อมสำหรับพวกเขา  โรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ดังกล่าวส่วนมากตั้งอยู่ในภาคเหนือ  บุตรหลานของชาวไทยภูเขามีโอกาสได้เรียนในโรงเรียนที่มีชื่อว่า  “โรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์”</div>
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">โรงเรียนอีกกลุ่มหนึ่งคือ  “โรงเรียนร่มเกล้า”  หรือโครงการโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์  สร้างขึ้นที่จังหวัดนครพนม  จังหวัดสกลนคร  และจังหวัดนราธิวาส  พระมหากรุณาธิคุณอีกประการหนึ่งคือทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้จัดตั้งห้องสมุดประชาชนขนาดเล็ก  หรือ  “ศาลารวมใจ”  ในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ  นอกจากจะได้รับพระราชทานหนังสือและจุลสารแก่ห้องสมุด  ศาลารวมใจยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของชุมชนในการที่จะสนับสนุนการจัดแสดงศิลปะพื้นบ้าน  งานฝีมือ  ทั้งยังเป็นสถานที่ให้บริการทางการแพทย์อีกด้วย  นอกจากนี้  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังมีพระมหากรุณาธิคุณต่อเยาวชนไทย โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ดำเนินการจัดทำสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน  จำนวน ๑๒ เล่ม*  อีกด้วย</div>
+
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">โรงเรียนอีกกลุ่มหนึ่งคือ  “โรงเรียนร่มเกล้า”  หรือโครงการโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์  สร้างขึ้นที่จังหวัดนครพนม  จังหวัดสกลนคร  และจังหวัดนราธิวาส  พระมหากรุณาธิคุณอีกประการหนึ่งคือทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้จัดตั้งห้องสมุดประชาชนขนาดเล็ก  หรือ  “ศาลารวมใจ”  ในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ  นอกจากจะได้รับพระราชทานหนังสือและจุลสารแก่ห้องสมุด  ศาลารวมใจยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของชุมชนในการที่จะสนับสนุนการจัดแสดงศิลปะพื้นบ้าน  งานฝีมือ  ทั้งยังเป็นสถานที่ให้บริการทางการแพทย์อีกด้วย  นอกจากนี้  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังมีพระมหากรุณาธิคุณต่อเยาวชนไทย โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ดำเนินการจัดทำสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน  จำนวน ๑๒ เล่ม**  อีกด้วย</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">บทบาทของโครงการหลวงในการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนนั้น  ได้รับการสดุดีในระดับนานาชาติในรูปแบบต่างๆ  ไม่เพียงแต่รัฐบาลหลายประเทศจะได้มอบทุนทรัพย์และความช่วยเหลือด้านผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น  ในพุทธศักราช ๒๕๓๑  ได้มีการมอบรางวัลรามอน แม็กไซไซ  หรือรางวัลโนเบลของเอเชีย  สาขาความเข้าใจระหว่างประเทศ  ให้แก่โครงการนี้ด้วย  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงเป็นผู้นำในการพระราชทานความช่วยเหลือแก่ประเทศเพื่อนบ้านของประเทศไทย  โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว  องค์การสหประชาชาติกำลังสนับสนุนให้ชาติอื่นๆ  ซึ่งประสบปัญหาทำนองเดียวกันดำเนินการตามตัวอย่างของโครงการเหล่านี้บางโครงการ  เช่น  โครงการปลูกพืชทดแทน  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงงานอย่างหนักในการดำเนินโครงการเหล่านี้ โดยทรงเอาพระราชหฤทัยใส่ดูแลด้วยพระองค์เองโดยตรง  เพื่อแก้ไขปัญหาอันเกี่ยวกับชนบททุกเรื่อง  นับตั้งแต่การอนุรักษ์ดินและน้ำ  จนถึงการอนุรักษ์ป่า  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักดีว่าปัญหาความยากจน  สุขภาพอนามัย  และการศึกษา  ของบรรดาแรงงานที่ต้องพึ่งพาเกษตรกรรม  จำนวนถึงร้อยละ ๖๐ – ๗๐ ต้องได้รับการแก้ไข  เพื่อช่วยให้ประชากร ๓๐ ล้านคนในชนบท  สามารถพัฒนาชีวิตให้ดีขึ้น และสามารถมีส่วนสร้างเสริมความมั่นคงของประเทศได้</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">บทบาทของโครงการหลวงในการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนนั้น  ได้รับการสดุดีในระดับนานาชาติในรูปแบบต่างๆ  ไม่เพียงแต่รัฐบาลหลายประเทศจะได้มอบทุนทรัพย์และความช่วยเหลือด้านผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น  ในพุทธศักราช ๒๕๓๑  ได้มีการมอบรางวัลรามอน แม็กไซไซ  หรือรางวัลโนเบลของเอเชีย  สาขาความเข้าใจระหว่างประเทศ  ให้แก่โครงการนี้ด้วย  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงเป็นผู้นำในการพระราชทานความช่วยเหลือแก่ประเทศเพื่อนบ้านของประเทศไทย  โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว  องค์การสหประชาชาติกำลังสนับสนุนให้ชาติอื่นๆ  ซึ่งประสบปัญหาทำนองเดียวกันดำเนินการตามตัวอย่างของโครงการเหล่านี้บางโครงการ  เช่น  โครงการปลูกพืชทดแทน  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงงานอย่างหนักในการดำเนินโครงการเหล่านี้ โดยทรงเอาพระราชหฤทัยใส่ดูแลด้วยพระองค์เองโดยตรง  เพื่อแก้ไขปัญหาอันเกี่ยวกับชนบททุกเรื่อง  นับตั้งแต่การอนุรักษ์ดินและน้ำ  จนถึงการอนุรักษ์ป่า  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักดีว่าปัญหาความยากจน  สุขภาพอนามัย  และการศึกษา  ของบรรดาแรงงานที่ต้องพึ่งพาเกษตรกรรม  จำนวนถึงร้อยละ ๖๐ – ๗๐ ต้องได้รับการแก้ไข  เพื่อช่วยให้ประชากร ๓๐ ล้านคนในชนบท  สามารถพัฒนาชีวิตให้ดีขึ้น และสามารถมีส่วนสร้างเสริมความมั่นคงของประเทศได้</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">รัชสมัยแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นรัชสมัยที่มีความสำคัญโดดเด่น  มหาวิทยาลัยแคนเบอร์ราจึงมีความชื่นชมโสมนัสที่จะขอประกาศสดุดีพระเกียรติคุณ ในความสำเร็จหลากหลายประการของพระองค์  ที่ได้ปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนชาวไทย  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง  การที่ทรงตระหนักว่าการศึกษาของพสกนิกรเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศ</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">รัชสมัยแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นรัชสมัยที่มีความสำคัญโดดเด่น  มหาวิทยาลัยแคนเบอร์ราจึงมีความชื่นชมโสมนัสที่จะขอประกาศสดุดีพระเกียรติคุณ ในความสำเร็จหลากหลายประการของพระองค์  ที่ได้ปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนชาวไทย  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง  การที่ทรงตระหนักว่าการศึกษาของพสกนิกรเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศ</div>
แถว 29: แถว 30:
  
 
<p  align="right" style="margin-right: 20%;">ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ</p>
 
<p  align="right" style="margin-right: 20%;">ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ</p>
 +
 +
 +
----
 +
<nowiki>*ปัจจุบันมีมากกว่า ๓,๐๐๐ โครงการ ;  * *เล่มล่าสุดคือเล่ม ๓๐
 +
</nowiki>
  
  
แถว 50: แถว 56:
 
[[หมวดหมู่:สังคม]]
 
[[หมวดหมู่:สังคม]]
 
[[Category: การศึกษา]]
 
[[Category: การศึกษา]]
[[Category: ระหว่างทำ]]
 

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:05, 29 กุมภาพันธ์ 2551

(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)
คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยแคนเบอร์รา เครือรัฐออสเตรเลีย

ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ด้านการศึกษา
ณ พระตำหนักจิตรลาดรโหฐาน พระราชวังดุสิต
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๙


หลังจากคณะกรรมการพิจารณาการประสาทปริญญากิตติมศักดิ์และที่ประชุมคณะบดีได้เสนอพระนาม พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๙ แห่งประเทศไทย ให้เป็นผู้ได้รับการทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ในฐานะที่ทรงอุทิศพระองค์ด้านการศึกษษมาอย่างยาวนาน สภามหาวิทยาลัยแห่งมหาวิทยาลัยแคนเบอร์รา เครือรัฐออสเตรเลีย จึงลงมติอนุมัติการเสนอดังกล่าวอย่างเป็นเอกฉันท์
เหตุผลสนับสนุนการอนุมัติปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ของมหาวิทยาลัยแก่บุคคลใดก็คือ การเป็นผู้ที่มีผลงานสร้างสรรค์อันยอดเยี่ยมในฐานะนักวิชาการในสายวิชาการ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรืออักษรศาสตร์ หรือการเป็นผู้ประกอบคุณประโยชน์อันโดดเด่นในด้านวิชาการ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรืออักษรศาสตร์
การทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ของมหาวิทยาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั้น เป็นผลมาจากการตระหนักถึงการที่ทรงอุทิศพระองค์ด้านวิชาการ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรืออักษรศาสตร์ โดยทรงมุ่งมั่นและทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจนานัปการผ่านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในชนบทของประเทศไทยในด้านการดูแลสุขภาพ การศึกษา การอนุรักษ์น้ำและดิน การชลประทาน การทดลองปลูกพืชพันธุ์ชนิดใหม่ๆ และโครงการที่สนับสนุนความเป็นอยู่อย่างพอเพียง ตลอดจนการขจัดความยากจน
มหาวิทยาลัยแคนเบอร์รามีความปลื้มปิติที่ได้เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวผู้ทรงอุทิศพระองค์ให้แก่พระชาชนชาวไทยตลอดระยะเวลา ๕๐ ปี แห่งการครองสิริราชสมบัติ และขอร่วมกับชาวไทยในการสดุดีพระเกียรติคุณที่ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจอันประสบผลสำเร็จมากมาย ด้วยการทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์นี้
พระราชกรณียกิจอันโดดเด่นของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระมหากษัตริย์ในรัชการก่อนๆ นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พุทธศักราช ๒๔๑๑ – ๒๔๕๓) เป็นต้นมา ได้ทรงถือว่าการศึกษาของประชาชนมีความสำคัญเป็นอันดับแรก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสืบทอดพระราชปณิธานในเรื่องนี้มาโดยตลอด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาระดับประถมศึกษาในชนบท และการพระราชทานทุนการศึกษาแก่นักเรียนที่ด้อยโอกาส ประเทศไทยทุกวันนี้กำลังพัฒนาระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ให้ทันสมัยเพื่อสนองความต้องการของประชากรรุ่นใหม่ การปฏิรูปนี้กำลังดำเนินตามพระบรมราโชบายอันชาญฉลาดของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงนำพาประชาชนของพระองค์ด้วยพระปรีชาสามารถ พระวิริยะอุตสาหะในการทรงงานหนักอย่างไม่ย่อท้อ ผ่านการเปลี่ยนแปลงมากมายตลอดระยะเวลา ๕๐ ปี ได้ทรงป้องกันประเทศไทยมิให้ตกอยู่ภายใต้การปกครองของระบอบเผด็จการทางทหาร ซึ่งปัจจัยสำคัญในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของประเทศ ให้ทันสมัยก็คือการที่ชนชั้นกลางที่มีการศึกษามีบทบาทสำคัญในสังคมมากขึ้น สิ่งนี้มิใช่ความสำเร็จระดับธรรมดา ณ วันนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นที่ยอมรับในฐานะที่เป็นสัญลักษณ์สูงสุดของประเทศไทย
ประเทศไทยนั้นมีลักษณะพิเศษแทบจะไม่เหมือนประเทศอื่นใดในโลก นั่นก็คือ เป็นประเทศกำลังพัฒนาที่มีพระมหากษัตริย์ทรงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ มีระดับมาตรฐานการครองชีพที่ดีขึ้นเรื่อยๆ และมีการกระจายความเจริญทางวัตถุไปสู่สังคมทุกชั้นโดยเท่าเทียมกันอย่างน่าชื่นชม ประเทศไทยสามารถอยู่รอด เจริญเติบโต และดำรงอยู่ด้วยความสงบสุขได้มากกว่าเกือบทุกประเทศในภูมิภาค ส่วนใหญ่เป็นผลจากพระบรมราโชบาย ตลอดจนพระวิสัยทัศน์ด้านคุณธรรมและพระวิริยอุตสาหะ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ ด้วยสถานะเช่นนี้ พระองค์ทรงปฏิบัติอย่างเคร่งครัดตามสิทธิ ๓ ประการ ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ นั่นคือ สิทธิที่จะพระราชทานคำแนะนำ สิทธิที่จะพระราชทานคำปรึกษา และสิทธิที่จะทรงสนับสนุนและพระราชทานกำลังใจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้สิทธิทั้ง ๓ ประการนี้ ในการทรงนำการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทยด้วยพระปรีชาสามารถอันยอดเยี่ยม ความเป็นรัฐบุรุษของพระองค์ทำให้ทรงสามารถ บรรเทาสถานการณ์ความไม่สงบทางการเมืองได้หลายครั้งหลายครา และนำสันติสุขกลับคืนสู่ฝ่ายที่ขัดแย้งกัน ของขวัญที่พระองค์พระราชทานแก่พสกนิกรในรูปของระบอบประชาธิปไตยภายใต้ระบบรัฐสภาที่แข็งแกร่ง เป็นผลจากการทรงเป็นผู้นำที่ทรงพระปรีชาสามารถ
เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จนิวัตประเทศไทยในพุทธศักราช ๒๔๙๔ อันเป็นช่วงต้นๆ ของรัชสมัยประชาธิปไตยของไทยยังคงเปราะบางมาก อาจก้าวพลาดได้ง่าย พระราชบัลลังก์เองก็ยังไม่มั่นคง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงงานอย่างทุ่มเทไม่ทรงเหน็ดเหนื่อย เพื่อให้ระบอบกษัตริย์ดำเนินสอดประสานไปกับการดำเนินชีวิตของประชาชน และทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพื่อประโยชน์โดยตรงต่อประชาชน ลักษณะเฉพาะของรัชสมัยของพระองค์ก็คือ การเสด็จพระราชดำเนินไปพบปะกับพสกนิกรโดยตรงทุกระดับชั้น ทั้งผู้ที่ยากไร้และผู้ที่มีฐานะ การที่พระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมประชาชนในดินแดนที่ทุรกันดารที่สุดของราชอาณาจักร เป็นวิถีที่ถูกต้องที่สุดในการค่อยๆ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยู่ในชนบทที่ห่างไกลความเจริญ

ในช่วงต้นแห่งรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเริ่มการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนถิ่นทุรกันดารหลายครั้ง ทุกวันนี้นับว่าพระราชกิจประจำที่พระองค์ และพระบรมวงศานุวงศ์จะทรงใช้เวลาปีละ ๖ – ๘ เดือน เสด็จพระราชดำเนินไปนอกเขตกรุงเทพมหานครเพื่อทรงเยี่ยมราษฎรในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ โครงการต่างๆ ประมาณ ๒,๐๐๐ โครงการ* ที่ทรงริเริ่มขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อปรับปรุงชีวิตของชาวชนบทให้ดีขึ้น กำลังดำเนินตการก้าวหน้าไปโดยมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงกำกับดูแลและพระราชทานคำแนะนำ ด้วยเหตุนี้ การพัฒนาชนบทจึงเป็นนโยบายหลัก ที่รัฐบาลไทยทุกรัฐบาลเริ่มดำเนินการเพื่อแก้ไขความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ของประชากรในชนบทและในเมือง
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริทั้งหลายครอบคลุมสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตในชนบท รวมถึงการดูแลสุขภาพ การศึกษา การอนุรักษ์น้ำและดิน การทดลองปลูกพืชพันธุ์ชนิดใหม่ๆ และโครงการที่สนับสนุนความเป็นอยู่อย่างพอเพียง ตลอดจนการขจัดความยากจน โครงการต่างๆ เหล่านี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงกำกับดูแลด้วยการ “ทรงลงมือ” ด้วยพระองค์เอง ได้ทรงงานหนักและ ตรากตรำพระวารกายท่ามกลางพสกนิกรชาวชนบท เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและความเจริญก้าวหน้า
นอกจากโครงการต่างๆ ที่ทรงอุทิศเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเกษตรแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังสนพระราชหฤทัยเป็นอย่างยิ่งที่จะทรงสนับสนุนและอุปถัมภ์การศึกษาด้วย นับตั้งแต่พุทธศักราช ๒๕๐๒ เมื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตั้งมูลนิธิอานันทมหิดล เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์แห่งสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชรัชกาลที่ ๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชทรัพย์เพื่อเป็นทุนไปศึกษาในต่างประเทศ และยังได้พระราชทานรางวัล และทุนการศึกษาอีกจำนวนมากจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์แก่นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆ
เพื่อช่วยเหลือเด็กและเยาวชนในพื้นที่ห่างไกลและมีสภาพแวดล้อมที่ยากไร้ขัดสน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างโรงเรียน ทำให้เด็กมีโอกาสทางการศึกษา ซึ่งก่อนหน้านั้นเป็นเรื่องที่ไกลเกินเอื้อมสำหรับพวกเขา โรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ดังกล่าวส่วนมากตั้งอยู่ในภาคเหนือ บุตรหลานของชาวไทยภูเขามีโอกาสได้เรียนในโรงเรียนที่มีชื่อว่า “โรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์”
โรงเรียนอีกกลุ่มหนึ่งคือ “โรงเรียนร่มเกล้า” หรือโครงการโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ สร้างขึ้นที่จังหวัดนครพนม จังหวัดสกลนคร และจังหวัดนราธิวาส พระมหากรุณาธิคุณอีกประการหนึ่งคือทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้จัดตั้งห้องสมุดประชาชนขนาดเล็ก หรือ “ศาลารวมใจ” ในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ นอกจากจะได้รับพระราชทานหนังสือและจุลสารแก่ห้องสมุด ศาลารวมใจยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของชุมชนในการที่จะสนับสนุนการจัดแสดงศิลปะพื้นบ้าน งานฝีมือ ทั้งยังเป็นสถานที่ให้บริการทางการแพทย์อีกด้วย นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังมีพระมหากรุณาธิคุณต่อเยาวชนไทย โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ดำเนินการจัดทำสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน จำนวน ๑๒ เล่ม** อีกด้วย
บทบาทของโครงการหลวงในการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนนั้น ได้รับการสดุดีในระดับนานาชาติในรูปแบบต่างๆ ไม่เพียงแต่รัฐบาลหลายประเทศจะได้มอบทุนทรัพย์และความช่วยเหลือด้านผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น ในพุทธศักราช ๒๕๓๑ ได้มีการมอบรางวัลรามอน แม็กไซไซ หรือรางวัลโนเบลของเอเชีย สาขาความเข้าใจระหว่างประเทศ ให้แก่โครงการนี้ด้วย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงเป็นผู้นำในการพระราชทานความช่วยเหลือแก่ประเทศเพื่อนบ้านของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว องค์การสหประชาชาติกำลังสนับสนุนให้ชาติอื่นๆ ซึ่งประสบปัญหาทำนองเดียวกันดำเนินการตามตัวอย่างของโครงการเหล่านี้บางโครงการ เช่น โครงการปลูกพืชทดแทน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงงานอย่างหนักในการดำเนินโครงการเหล่านี้ โดยทรงเอาพระราชหฤทัยใส่ดูแลด้วยพระองค์เองโดยตรง เพื่อแก้ไขปัญหาอันเกี่ยวกับชนบททุกเรื่อง นับตั้งแต่การอนุรักษ์ดินและน้ำ จนถึงการอนุรักษ์ป่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักดีว่าปัญหาความยากจน สุขภาพอนามัย และการศึกษา ของบรรดาแรงงานที่ต้องพึ่งพาเกษตรกรรม จำนวนถึงร้อยละ ๖๐ – ๗๐ ต้องได้รับการแก้ไข เพื่อช่วยให้ประชากร ๓๐ ล้านคนในชนบท สามารถพัฒนาชีวิตให้ดีขึ้น และสามารถมีส่วนสร้างเสริมความมั่นคงของประเทศได้
รัชสมัยแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นรัชสมัยที่มีความสำคัญโดดเด่น มหาวิทยาลัยแคนเบอร์ราจึงมีความชื่นชมโสมนัสที่จะขอประกาศสดุดีพระเกียรติคุณ ในความสำเร็จหลากหลายประการของพระองค์ ที่ได้ปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนชาวไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่ทรงตระหนักว่าการศึกษาของพสกนิกรเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศ



ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ



*ปัจจุบันมีมากกว่า ๓,๐๐๐ โครงการ ; * *เล่มล่าสุดคือเล่ม ๓๐




มหาวิทยาลัยแคนเบอร์รา.jpg
นางเวนดี แมคคาร์ธี อธิการบดีมหาวิทยาลัยแคนเบอร์รา เครือรัฐออสเตรเลีย
ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาบัตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ด้านการศึกษา
ณ พระตำหนักจิตรลาดรโหฐาน พระราชวังดุสิต
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๙


มหาวิทยาลัยแคนเบอร์รา2.jpg
ฉลองพระองค์ครุยที่มหาวิทยาลัยแคนเบอร์ราทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย



Dot orange2.gif หน้าแรกประมวลคำสดุดีพระเกียรติคุณฯ Dot orange2.gif บัญชีปริญญาดุษฎีบัณฑิตฯ Dot orange2.gif บัญชีตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ฯ Dot orange2.gif บัญชีรางวัลฯ Dot orange2.gif พระราชกรณียกิจ