ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดมงคลชัยพัฒนา"
Aditep (คุย | มีส่วนร่วม) (สร้างหน้าใหม่: adafdfadf asdfadf adsfad asdfa) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) (หน้าที่ถูกสร้างด้วย '<div id="bg_g2t"> </div> <div id="bg_g2"> <h1>โครงการพัฒนาพื้นที่วัดมงคลชัย…') |
||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | + | <div id="bg_g2t"> </div> | |
+ | <div id="bg_g2"> | ||
+ | <h1>โครงการพัฒนาพื้นที่วัดมงคลชัยพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดำริ</h1> | ||
+ | |||
+ | <div class="kindent">'''โครงการพัฒนาพื้นที่วัดมงคลชัยพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ถือเป็นจุดตั้งต้นของทฤษฎีใหม่ อยู่ที่ตำบลห้วยบง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ (เดิมคืออำเภอเมืองสระบุรี) จังหวัดสระบุรี เป็นโครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชดำริให้ค้นคว้าทดลองหาแนวทางปฏิบัติ เพื่อเกษตรกรสามารถดำเนินชีวิตในวิถีเกษตรอย่างมีหลักวิชาการ พึ่งพาตนเองได้ และพออยู่พอกิน ทั้งสามารถพัฒนาเป็นหน่วยสังคมที่เข้มแข็งของประเทศ</div> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | <div class="kindent">เมือพุทธศักราช ๒๕๓๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้[[มูลนิธิชัยพัฒนา]] จัดหาที่ดินเพื่อศึกษาทดลองการเกษตรผสมผสาน และทดลองหารูปแบบบริหารจัดการที่ดินและแหล่งน้ำเพื่อเกษตรกรรายย่อยที่มีพื้นที่ทำกินน้อย การทดลองดังกล่าวเกิดขึ้นที่บริเวณรอบวัดมงคลซึ่งภายหลังได้รับพระราชทานชื่อว่า วัดมงคลชัยพัฒนา พื้นที่เดิมเป็นท้องทุ่งแห้งแล้ง ราษฎรทำนาข้าวได้ผลผลิตน้อย เพราะอาศัยน้ำฝนเพียงปีละครั้งและดินขาดความอุดมสมบูรณ์ เพาะปลูกพืชไร่ชนิดเดียวมาเป็นเวลานาน มีพระราชประสงค์ให้คำนวณหาค่าเฉลี่ยว่า เกษตรกรครอบครัวหนึ่งควรมีพื้นที่ทำกินประมาณเท่าใด ได้ทรงทดลองตามสมมติฐานในพื้นที่ประมาณ ๑๕-๑๖ ไร่ จัดสรรเป็นพื้นที่แหล่งน้ำเฉพาะครอบครัวที่อยู่อาศัย และพื้นที่เพาะปลูก มีการสร้างอ่างเก็บน้ำรวมของชุมชนเพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนน้ำ มีการประสานความร่วมมือระหว่างบ้าน วัด และราชการ เผยแพร่อาชีพเกษตรและจริยธรรมแก่ประชาชนภายหลังทดลองจนได้ผลสำเร็จดีแล้ว จึงได้พระราชทานแนวทาง[[ทฤษฎีใหม่]] มี ๓ ขั้นตอนคือ พึ่งตนเอง รวมพลัง สร้างเครือข่าย | ||
+ | |||
+ | ปัจจุบันเกษตรกรรอบวัดมงคลชัยพัฒนาบางครอบครัวได้เปลี่ยนพื้นที่ที่เคยแห้งแล้งให้กลับอุดมสมบูรณ์ กลายเป็นพื้นที่ต้นแบบทฤษฎีใหม่ เป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ทางการเกษตรที่มีผู้มาทัศนศึกษามากที่สุดแห่งหนึ่ง และเป็นแหล่งท่องเที่ยวชมแปลงสาธิตทฤษฎีใหม่ต่อเนื่องตลอดปี</div> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | </div> | ||
+ | |||
+ | |||
+ | |||
+ | [[หมวดหมู่:แนวพระราชดำริ]][[หมวดหมู่:การเกษตร]][[หมวดหมู่:เศรษฐกิจพอเพียง]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:47, 9 มีนาคม 2560
โครงการพัฒนาพื้นที่วัดมงคลชัยพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โครงการพัฒนาพื้นที่วัดมงคลชัยพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ถือเป็นจุดตั้งต้นของทฤษฎีใหม่ อยู่ที่ตำบลห้วยบง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ (เดิมคืออำเภอเมืองสระบุรี) จังหวัดสระบุรี เป็นโครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชดำริให้ค้นคว้าทดลองหาแนวทางปฏิบัติ เพื่อเกษตรกรสามารถดำเนินชีวิตในวิถีเกษตรอย่างมีหลักวิชาการ พึ่งพาตนเองได้ และพออยู่พอกิน ทั้งสามารถพัฒนาเป็นหน่วยสังคมที่เข้มแข็งของประเทศ
เมือพุทธศักราช ๒๕๓๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้มูลนิธิชัยพัฒนา จัดหาที่ดินเพื่อศึกษาทดลองการเกษตรผสมผสาน และทดลองหารูปแบบบริหารจัดการที่ดินและแหล่งน้ำเพื่อเกษตรกรรายย่อยที่มีพื้นที่ทำกินน้อย การทดลองดังกล่าวเกิดขึ้นที่บริเวณรอบวัดมงคลซึ่งภายหลังได้รับพระราชทานชื่อว่า วัดมงคลชัยพัฒนา พื้นที่เดิมเป็นท้องทุ่งแห้งแล้ง ราษฎรทำนาข้าวได้ผลผลิตน้อย เพราะอาศัยน้ำฝนเพียงปีละครั้งและดินขาดความอุดมสมบูรณ์ เพาะปลูกพืชไร่ชนิดเดียวมาเป็นเวลานาน มีพระราชประสงค์ให้คำนวณหาค่าเฉลี่ยว่า เกษตรกรครอบครัวหนึ่งควรมีพื้นที่ทำกินประมาณเท่าใด ได้ทรงทดลองตามสมมติฐานในพื้นที่ประมาณ ๑๕-๑๖ ไร่ จัดสรรเป็นพื้นที่แหล่งน้ำเฉพาะครอบครัวที่อยู่อาศัย และพื้นที่เพาะปลูก มีการสร้างอ่างเก็บน้ำรวมของชุมชนเพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนน้ำ มีการประสานความร่วมมือระหว่างบ้าน วัด และราชการ เผยแพร่อาชีพเกษตรและจริยธรรมแก่ประชาชนภายหลังทดลองจนได้ผลสำเร็จดีแล้ว จึงได้พระราชทานแนวทางทฤษฎีใหม่ มี ๓ ขั้นตอนคือ พึ่งตนเอง รวมพลัง สร้างเครือข่าย
ปัจจุบันเกษตรกรรอบวัดมงคลชัยพัฒนาบางครอบครัวได้เปลี่ยนพื้นที่ที่เคยแห้งแล้งให้กลับอุดมสมบูรณ์ กลายเป็นพื้นที่ต้นแบบทฤษฎีใหม่ เป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ทางการเกษตรที่มีผู้มาทัศนศึกษามากที่สุดแห่งหนึ่ง และเป็นแหล่งท่องเที่ยวชมแปลงสาธิตทฤษฎีใหม่ต่อเนื่องตลอดปี