ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บันทึกเหตุการณ์ตามปี พ.ศ."

 
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 148: แถว 148:
 
*๖ เม.ย. ๒๕๐๙ ทรงสร้าง หลวงพ่อจิตรลาด พระพิมพ์สมเด็จแบบพิเศษ ณ พระตำหนักจิตรลาดรโหฐาน
 
*๖ เม.ย. ๒๕๐๙ ทรงสร้าง หลวงพ่อจิตรลาด พระพิมพ์สมเด็จแบบพิเศษ ณ พระตำหนักจิตรลาดรโหฐาน
 
*ทรงเททองหล่อ พระพุทธนวราชบพิตร เพื่อประดิษฐานไว้ ณ จังหวัดต่างๆ ทั่วพระราชอาณาจักร
 
*ทรงเททองหล่อ พระพุทธนวราชบพิตร เพื่อประดิษฐานไว้ ณ จังหวัดต่างๆ ทั่วพระราชอาณาจักร
*๒ ธ.ค. ๒๕๐๙ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย พระคฑาจอมทัพภูมิพลในฐานะที่ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย
+
*๒ ธ.ค. ๒๕๐๙ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย พระคฑาจอมทัพภูมิพลในฐานะที่ทรงดำรงตำแหน่ง[[จอมทัพไทย]]
 
*๙ ธ.ค. ๒๕๐๙ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดการแข่งขันกีฬาเอเเชียนเกมส์ ครั้งที่ ๕ ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ณ สนามศุภชลาศัยกรีฑาสถานแห่งชาติ
 
*๙ ธ.ค. ๒๕๐๙ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดการแข่งขันกีฬาเอเเชียนเกมส์ ครั้งที่ ๕ ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ณ สนามศุภชลาศัยกรีฑาสถานแห่งชาติ
 
*ทรงต่อเรือใบประเภทม็อธ พระราชทานชื่อมด ซูเปอร์มดและ ไมโครมด
 
*ทรงต่อเรือใบประเภทม็อธ พระราชทานชื่อมด ซูเปอร์มดและ ไมโครมด
แถว 156: แถว 156:
 
<div style="float:left; padding:0 15px 20px 0">[[ภาพ:การกีฬา6.jpg|200px]]</div>
 
<div style="float:left; padding:0 15px 20px 0">[[ภาพ:การกีฬา6.jpg|200px]]</div>
 
*ทรงออกแบบและต่อเรือใบลำสุดท้าย คือเรือโม้ก มีลักษณะผสมระหว่างเรือโอเคและเรือซูเปอร์มด
 
*ทรงออกแบบและต่อเรือใบลำสุดท้าย คือเรือโม้ก มีลักษณะผสมระหว่างเรือโอเคและเรือซูเปอร์มด
*๑๖ ธ.ค. ๒๕๑๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีทรงร่วมแข่งขันเรือใบประเภทโอเคในกีฬาแหลมทอง (SEAP GAMES) ครั้งที่ ๔ และทั้ง ๒ พระองค์ชนะเลิศครองเหรียญทองร่วมกัน เป็นที่มาของวันกีฬาแห่งชาติ
+
*๑๖ ธ.ค. ๒๕๑๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีทรงร่วมแข่งขันเรือใบประเภทโอเคในกีฬาแหลมทอง (SEAP GAMES) ครั้งที่ ๔ และทั้ง ๒ พระองค์ชนะเลิศครองเหรียญทองร่วมกัน เป็นที่มาของ[[กีฬา|วันกีฬาแห่งชาติ]]
  
  
 
<div style="clear:both">'''๒๕๑๑'''</div>
 
<div style="clear:both">'''๒๕๑๑'''</div>
*๑๖ มี.ค. ๒๕๑๑ เสด็จพระราชดำเนินไปเป็นประธานในงานเมาลิดกลางประจำปี พระราชทานคัมภีร์อัลกุรอานฉบับแปลภาษาไทยแก่มัสยิดต่างๆ ทั่วประเทศ
+
*๑๖ มี.ค. ๒๕๑๑ เสด็จพระราชดำเนินไปเป็นประธานในงานเมาลิดกลางประจำปี [[องค์อัครศาสนูปถัมภก|พระราชทานคัมภีร์อัลกุรอานฉบับแปลภาษาไทยแก่มัสยิดต่างๆ ทั่วประเทศ]]
  
  
 
'''๒๕๑๒'''
 
'''๒๕๑๒'''
*๒๙ ม.ค. ๒๕๑๒ กำเนิดหน่วยแพทย์พระราชทาน
+
*๒๙ ม.ค. ๒๕๑๒ กำเนิด[[การแพทย์และสาธารณสุขเชิงรุก|หน่วยแพทย์พระราชทาน]]
 
*๒๕ ก.พ. ๒๕๑๒ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมชาวไทยภูเขาพร้อมทั้งมีพระราชดำริในการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ เป็นที่มาของ[[โครงการหลวง]]
 
*๒๕ ก.พ. ๒๕๑๒ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมชาวไทยภูเขาพร้อมทั้งมีพระราชดำริในการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ เป็นที่มาของ[[โครงการหลวง]]
 
*๑ ก.ค. ๒๕๑๒ คณะปฏิบัติการฝนหลวง เริ่มบินปฏิบัติการทดลองทำฝนเทียมกับเมฆบนท้องฟ้าเป็นครั้งแรกบริเวณท้องฟ้าเหนืออุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
 
*๑ ก.ค. ๒๕๑๒ คณะปฏิบัติการฝนหลวง เริ่มบินปฏิบัติการทดลองทำฝนเทียมกับเมฆบนท้องฟ้าเป็นครั้งแรกบริเวณท้องฟ้าเหนืออุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
แถว 185: แถว 185:
  
 
<div style="clear:both">'''๒๕๑๕'''</div>
 
<div style="clear:both">'''๒๕๑๕'''</div>
*๑๙ ต.ค. ๒๕๑๕ ทรงบัญชาการควบคุมปฏิบัติการฝนหลวง สาธิตแก่ผู้แทนจากประเทศสิงคโปร์ ฝนตกในพื้นที่เป้าหมายที่กำหนดคือ อ่างเก็บน้ำเขื่อนแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี
+
*๑๙ ต.ค. ๒๕๑๕ ทรงบัญชาการควบคุมปฏิบัติการ[[ฝนหลวง]] สาธิตแก่ผู้แทนจากประเทศสิงคโปร์ ฝนตกในพื้นที่เป้าหมายที่กำหนดคือ อ่างเก็บน้ำเขื่อนแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี
 
*๓๐ ต.ค. ๒๕๑๕ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดโรงเรียนร่มเกล้าแห่งแรกที่บ้านหนองแคน อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม  
 
*๓๐ ต.ค. ๒๕๑๕ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดโรงเรียนร่มเกล้าแห่งแรกที่บ้านหนองแคน อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม  
*เริ่มโครงการโรงงานหลวงอาหารสำเร็จรูปเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่เสียเปรียบและประสบปัญหาในการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตร
+
*เริ่มโครงการโรงงานหลวงอาหารสำเร็จรูปเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่เสียเปรียบ และประสบปัญหาในการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตร
 
*เริ่มโครงการจัดพัฒนาที่ดินตามพระราชประสงค์ทุ่งลุยลาย จังหวัดชัยภูมิ
 
*เริ่มโครงการจัดพัฒนาที่ดินตามพระราชประสงค์ทุ่งลุยลาย จังหวัดชัยภูมิ
  
แถว 206: แถว 206:
 
'''๒๕๑๙'''
 
'''๒๕๑๙'''
 
*พระราชทานพระราชดำริเกี่ยวกับป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ณ หน่วยพัฒนาต้นน้ำทุ่งจ๊อ
 
*พระราชทานพระราชดำริเกี่ยวกับป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ณ หน่วยพัฒนาต้นน้ำทุ่งจ๊อ
*ทรงแปลเรื่อง ติโต และต่อมาพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดพิมพ์เผยแพร่เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา พุทธศักราช ๒๕๓๗
+
*ทรงแปลเรื่อง [[ติโต]] และต่อมาพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดพิมพ์เผยแพร่เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา พุทธศักราช ๒๕๓๗
  
  
 
'''๒๕๒๐'''
 
'''๒๕๒๐'''
*๒๔ ม.ค. ๒๕๒๐ พระราชทานแนวพระราชดำรัสเรื่องปลูกป่าทดแทน ณ สถานีหลวงพัฒนาชาวเขา จังหวัดเชียงใหม่
+
*๒๔ ม.ค. ๒๕๒๐ พระราชทานแนวพระราชดำรัสเรื่อง[[ปลูกป่าทดแทน]] ณ สถานีหลวงพัฒนาชาวเขา จังหวัดเชียงใหม่
 
*๒๐ มิ.ย. ๒๕๒๐ ทรงแปล นายอินทร์ ผู้ปิดทองหลังพระ ทรงใช้เวลา ๓ ปี เสร็จสมบูรณ์ในเดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพิมพ์เพื่อ พ.ศ.๒๕๓๖
 
*๒๐ มิ.ย. ๒๕๒๐ ทรงแปล นายอินทร์ ผู้ปิดทองหลังพระ ทรงใช้เวลา ๓ ปี เสร็จสมบูรณ์ในเดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพิมพ์เพื่อ พ.ศ.๒๕๓๖
 
*ทรงสดับพระธรรมเทศนาของสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผาติการาม เรื่อง พระมหาชนก เป็นแรงบันดาลพระราชหฤทัยให้ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมพุทธศาสนาเรื่อง พระมหาชนก ในเวลาต่อมา
 
*ทรงสดับพระธรรมเทศนาของสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผาติการาม เรื่อง พระมหาชนก เป็นแรงบันดาลพระราชหฤทัยให้ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมพุทธศาสนาเรื่อง พระมหาชนก ในเวลาต่อมา
*๕ ธ.ค. ๒๕๒๐ พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๕๐ พรรษา และพระราชพิธีเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ
+
*๕ ธ.ค. ๒๕๒๐ [[ตราสัญลักษณ์งานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี|พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๕๐ พรรษา]] และพระราชพิธีเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ
  
  
แถว 228: แถว 228:
  
 
<div style="clear:both">'''๒๕๒๓'''</div>
 
<div style="clear:both">'''๒๕๒๓'''</div>
*๑๙ ต.ค. ๒๕๒๓ หลังจากเสด็จพระราชดำเนินตรวจพื้นที่น้ำท่วม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมเข้ารับแนวพระราชดำริ เนื่องจากปัญหาน้ำท่วมพื้นที่ฝั่งตะวันออกของกรุงเทพฯ รุนแรงอย่างไม่เคยปรากฎมาก่อน มีพระราชดำรัสให้เร่งระบายน้ำออกสู่ทะเล โดยผ่านแนวคลองฝั่งตะวันออก
+
*๑๙ ต.ค. ๒๕๒๓ หลังจากเสด็จพระราชดำเนินตรวจพื้นที่น้ำท่วม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับ[[การแก้ไขปัญหาน้ำท่วม]]เข้ารับแนวพระราชดำริ เนื่องจากปัญหาน้ำท่วมพื้นที่ฝั่งตะวันออกของกรุงเทพฯ รุนแรงอย่างไม่เคยปรากฎมาก่อน มีพระราชดำรัสให้เร่งระบายน้ำออกสู่ทะเล โดยผ่านแนวคลองฝั่งตะวันออก
  
  
'''2525'''
+
'''๒๕๒๕'''
*พระราชพิธีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี
+
*พระราชพิธีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี
*25 ก.พ.2525 เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดเขื่อนนเรศวร และมีพระราชดำริให้กรมชลประทานวางโครงการก่อสร้างเขื่อนเก็บกักน้ำแควน้อย
+
*๒๕ ก.พ. ๒๕๒๕ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดเขื่อนนเรศวร และมีพระราชดำริให้กรมชลประทานวางโครงการก่อสร้างเขื่อนเก็บกักน้ำแควน้อย
  
  
'''2526'''
+
'''๒๕๒๖'''
*8 ต.ค.2526 เสด็จพระราชดำเนินโดยเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่งไปทรงตรวจพื้นที่น้ำท่วมในเขตกรุงเทพมหานคร
+
*ต.ค. ๒๕๒๖ เสด็จพระราชดำเนินโดยเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่งไปทรงตรวจพื้นที่น้ำท่วมในเขตกรุงเทพมหานคร
*27 ต.ค.2526 เสด็จพระราชดำเนินเป็นการส่วนพระองค์ไปทอดพระเนตรสภาพน้ำท่วมบริเวณซอยศูนย์วิจัย เขตห้วยขวาง
+
*๒๗ ต.ค. ๒๕๒๖ เสด็จพระราชดำเนินเป็นการส่วนพระองค์ไปทอดพระเนตรสภาพน้ำท่วมบริเวณซอยศูนย์วิจัย เขตห้วยขวาง
*7 พ.ย.2526 เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรน้ำท่วมบริเวณคลองลาดพร้าว คลองหนองบอน ตามแนวถนนบางพลี
+
*พ.ย. ๒๕๒๖ เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรน้ำท่วมบริเวณคลองลาดพร้าว คลองหนองบอน ตามแนวถนนบางพลี
*24 พ.ย.2526 เสด็จพระราชดำเนินไปยังพื้นที่น้ำท่วมฝั่งธนบุรี
+
*๒๔ พ.ย. ๒๕๒๖ เสด็จพระราชดำเนินไปยังพื้นที่น้ำท่วมฝั่งธนบุรี
  
  
'''2527'''
+
'''๒๕๒๗'''
*16 ก.ย.2527 พระราชทานแนวพระราชดำริเกี่ยวกับ[[แกล้งดิน|ทฤษฎีแกล้งดิน]] ณ [[ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง|ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ]]
+
*๑๖ ก.ย. ๒๕๒๗ พระราชทานแนวพระราชดำริเกี่ยวกับ[[แกล้งดิน|ทฤษฎีแกล้งดิน]] ณ [[ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง|ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ]]
*25 ต.ค.2527 เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีพระราชทานครอบประธานประกอบพิธีไหว้ครูโขน-ละครและพระราชพิธีครอบองค์พระพิราพต่อท่ารำเพลงหน้าพาทย์ องค์พระพิราพ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา
+
*๒๕ ต.ค. ๒๕๒๗ เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีพระราชทานครอบประธานประกอบพิธีไหว้ครูโขน-ละครและพระราชพิธีครอบองค์พระพิราพต่อท่ารำเพลงหน้าพาทย์ องค์พระพิราพ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา
  
  
'''2528'''
+
'''๒๕๒๘'''
*7 ม.ค.2528 พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมพรรษาเสมอสมเด็จพระบรมอัยกาธิราช พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา57 พรรษา 33 วัน
+
*ม.ค. ๒๕๒๘ พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมพรรษาเสมอสมเด็จพระบรมอัยกาธิราช พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕๗ พรรษา ๓๓ วัน
*4 เม.ย. พระราชทานแนวพระราชดำริเรื่องน้ำดีไล่น้ำเสีย ขณะเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรบริเวณประตูระบายน้ำปากคลองผดุงกรุงเกษม บริเวณเทเวศร์ คลองแสนแสบ และคลองลาดพร้าว
+
*เม.ย. ๒๕๒๘ พระราชทานแนวพระราชดำริเรื่องน้ำดีไล่น้ำเสีย ขณะเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรบริเวณประตูระบายน้ำปากคลองผดุงกรุงเกษม บริเวณเทเวศร์ คลองแสนแสบ และคลองลาดพร้าว
 
*มีพระราชดำรัสให้ศึกษาต้นทุนในการนำอ้อยมาแปรรูปเป็นเอทานอลเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทน เมื่อเกิดการขาดแคลนน้ำมันในอนาคตและเป็นการสนับสนุนให้เกษตรกรชาวไร่อ้อยมีรายได้เพิ่มขึ้น
 
*มีพระราชดำรัสให้ศึกษาต้นทุนในการนำอ้อยมาแปรรูปเป็นเอทานอลเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทน เมื่อเกิดการขาดแคลนน้ำมันในอนาคตและเป็นการสนับสนุนให้เกษตรกรชาวไร่อ้อยมีรายได้เพิ่มขึ้น
  
  
'''2529'''
+
'''๒๕๒๙'''
*16 ม.ค.2529 พระราชทานนามเขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธานในพิธีเปิดเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์  
+
*๑๖ ม.ค. ๒๕๒๙ พระราชทานนามเขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธานในพิธีเปิดเมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์  
*24 ก.พ.2529 คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ถวายพระราชสมัญญา อัครศิลปิน
+
*๒๔ ก.พ. ๒๕๒๙ คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ถวายพระราชสมัญญา [[เอกองค์อัครศิลปิน|อัครศิลปิน]]
*ทรงเปิดโรงกลั่นแอลกอฮอล์ในสวนจิตรลดา ค้นคว้าการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เพื่อนำมาทำน้ำมันเชื้อเพลิงตามแนวพระราชดำริ รวมทั้งทดลองผสมแอลกอฮอล์ 95 เปอร์เซนต์ กับน้ำมันเบนซิน จนได้[[แก๊สโซฮอล์]]
+
*ทรงเปิดโรงกลั่นแอลกอฮอล์ในสวนจิตรลดา ค้นคว้าการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เพื่อนำมาทำน้ำมันเชื้อเพลิงตามแนวพระราชดำริ รวมทั้งทดลองผสมแอลกอฮอล์ ๙๕ เปอร์เซนต์ กับน้ำมันเบนซิน จนได้[[แก๊สโซฮอล์]]
 
*ทรงก่อตั้งวงดนตรีสหายพัฒนา เน้นการเล่นเครื่องเป่าโดยเฉพาะแตรและทรัมเป็ต
 
*ทรงก่อตั้งวงดนตรีสหายพัฒนา เน้นการเล่นเครื่องเป่าโดยเฉพาะแตรและทรัมเป็ต
  
แถว 264: แถว 264:
 
<div style="float:right">[[บันทึกเหตุการณ์ตามปี พ.ศ.(2)| '''บันทึกเหตุการณ์ตามปี พ.ศ. ส่วนที่ 2''']]</div>
 
<div style="float:right">[[บันทึกเหตุการณ์ตามปี พ.ศ.(2)| '''บันทึกเหตุการณ์ตามปี พ.ศ. ส่วนที่ 2''']]</div>
  
</div></div>
+
 
 +
{{ดูเพิ่มเติม|[[:หมวดหมู่:ประมวลภาพพระราชกรณียกิจ|ประมวลภาพพระราชกรณียกิจ]]}}
  
  
 
[[หมวดหมู่:รัชกาลที่9]]
 
[[หมวดหมู่:รัชกาลที่9]]
 +
</div></div>

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:49, 9 ตุลาคม 2552


พระราชกรณียกิจและเหตุการณ์สำคัญ

ทศ1-01.jpg

๒๔๗๐

  • ๕ ธ.ค.๒๔๗๐ วันจันทร์ ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือนอ้ายปีเถาะ เสด็จพระราชสมภพ ณ โรงพยาบาลเมานท์ ออเบิร์น เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา


๒๔๗๗

  • พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เลื่อนพระอิสริยยศพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช


๒๔๘๑

ทศ2-08.jpg
  • มกราคม ๒๔๘๑ เสด็จพระราชดำเนินกลับไปทรงศึกษาต่อที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
  • ๑๕ พ.ย. ๒๔๘๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขณะทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เสด็จนิวัตพระนครครั้งแรก ประทับ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต


๒๔๘๘
  • ๒๕ พ.ย. ๒๔๘๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโดยเสด็จสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เสด็จนิวัตพระนครครั้งที่ ๒
  • ๕ ธ.ค. ๒๔๘๘ เสด็จพระราชดำเนินถึงพระนคร และประทับ ณ พระที่นั่งบรมพิมาน พระบรมมหาราชวัง


๒๔๘๙

  • ๑๐ พ.ค. ๒๔๘๙ โดยเสด็จสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชออกเยี่ยมราษฎร ในเขตกรุงเทพมหานครและพื้นที่ใกล้เคียง
  • ๙ มิ.ย. ๒๔๘๙ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดีนทร เสด็จสวรรคต รัฐบาลขณะนั้นจึงกราบบังคมทูลเชิญพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวขึ้นครองราชย์ สืบราชสันตติวงศ์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๙ แห่งพระบรมราชวงจักรี
  • ๑๑ มิ.ย. ๒๔๘๙ การประกาศเฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อพระชนมพรรษา ๑๘ พรรษา
  • ๑๙ ส.ค. ๒๔๘๙ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงศึกษาต่อและทรงเปลี่ยนแผนการศึกษาจากสาขาวิศวกรรมศาสตร์ เป็นสาขานิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทรงพระราชนิพนธ์เพลงแสงเทียน ยามเย็น สายฝน ใกล้รุ่ง ชะตาชีวิต และดวงใจกับความรัก


๒๔๙๐

  • ๕ ธ.ค. ๒๔๙๐ ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๒๐ พรรษา รัฐบาลไทยจึงกราบบังคมทูลเชิญ เสด็จนิวัตพระนครเพื่อประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก แต่มีพระราชประสงค์จะทรงศึกษาต่อจนสำเร็จการศึกษา


๒๔๙๓

ทศวรรษที่3.jpg
  • ๒๔ มี.ค. ๒๔๙๓ เสด็จนิวัตพระนคร ประทับ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต
  • ๒๙ มี.ค. ๒๔๙๓ ถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
  • ๒๑ เม.ย. ๒๔๙๓ พระราชพิธีจารึกพระสุพรรณบัฏ ดวงพระบรมราชสมภพ และแกะพระราชลัญจกรประจำแผ่นดิน
  • ๒๘ เม.ย. ๒๔๙๓ พระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์
  • ๔-๕ พ.ค. ๒๔๙๓ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พร้อมมีพระปฐมบรมราชโองการ เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
  • กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเครื่องยศจอมพลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
  • ๕ มิ.ย. ๒๔๙๓ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงรักษาพระสุขภาพตามที่แพทย์ถวายคำแนะนำ


๒๔๙๔
  • พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี พร้อมด้วยพระราชธิดาเสด็จนิวัตพระนคร ประทับ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต จากนั้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปรับปรุงพระตำหนักจิตรลดารโหฐานให้เหมาะสมแก่การเป็นที่ประทับถาวร ระหว่างนั้นประทับ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต


๒๔๙๕

คมนาคม2.jpg
  • ทรงริเริ่มโครงการเพาะพันธุ์ปลาหมอเทศในสวนจิตรลาด
  • เสด็จพระราชดำเนินเป็นการส่วนพระองค์ไปทรงเยี่ยมราษฎรในเขตภาคกลาง
  • พระราชทานรถบูลโดเซอร์แก่หน่วยตำรวจตระเวณชายแดนค่ายนเรศวรสร้างถนนเข้าสู่บ้านห้วยมงคล จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นับเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านคมนาคมและการพัฒนาชนบทโครงการแรก
  • ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดตั้งสถานีวิทยุ อ.ส. พระราชวังดุสิต เมื่อเสด็จนิวัตพระนครประทับอย่างถาวร


๒๔๙๖
  • ๗ พ.ย. ๒๔๙๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ผู้ใหญ่บ้าน กำนันทั่วประเทศ เข้ารับพระราชทานพันธุ์ปลาหมอเทศ ซึ่งเพาะพันธุ์จากบ่อสวนจิตรลาด
  • ๑๒ ธ.ค. ๒๔๙๖ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดสะพานพระราม ๖ ที่บูรณะขึ้นใหม่หลังจากถูกระเบิดทำลายเสียหายระหว่างสงครามโลกครั้งที่ ๒


๒๔๙๗

  • เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย มีพระราชกระแสรับสั่งถึงการสร้างหุ่นยนต์ที่สามารถเดินได้พร้อมพระราชทานพระราชทรัพย์สร้าง หุ่นยนต์คุณหมอพระราชทาน
  • ก่อตั้งทุนอานันทมหิดล


๒๔๙๘

  • 10 ม.ค. ๒๔๙๘ โรงเรียนจิตรลดาเปิดสอนเป็นวันแรก ณ พระที่นั่งอุตรภาค บริเวณพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี ทรงได้รับเลขประจำตัวนักเรียนหมายเลข ๑
  • ๑๙ ม.ค. ๒๔๙๘ พระราชทานเรือเวชพาหน์แก่สภากาชาดไทย
  • ๑๔ พ.ย. ๒๔๙๘ มีพระราชดำริอันเป็นต้นกำเนิดโครงการพระราชดำริฝนหลวง


๒๔๙๙

ทศ3-29.jpg
  • ๒๒ ต.ค. ๒๔๙๙ ทรงผนวชและประทับ จำพรรษา ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ทรงลาสิขา วันที่ ๕ พ.ย. ๒๔๙๙


๒๕๐๐
ทศ4-03.jpg
  • ๖ เม.ย. ๒๕๐๐ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดอนุสาวรีย์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ณ ตึกที่ว่าการรถไฟไทย เชิงสะพานนพวงศ์
  • ๑๔ พ.ค. ๒๕๐๐ ขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ตามแนวพระราชดำริให้มีการฟื้นฟูและอนุรักษ์เรือพระราชพิธี
  • ๓๑ ต.ค. ๒๕๐๐ เสด็จพระราชดำเนินจากพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ไปประทับ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน สวนจิตรลดาเป็นการถาวร


๒๕๐๑
  • ๑๐ ก.พ. ๒๕๐๐ มีผู้น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายช้างสำคัญพบที่จังหวัดกระบี่ นับเป็นช้างสำคัญช้างแรกในรัชกาล


๒๕๐๒

  • ๓ เม.ย. ๒๕๐๒ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดตั้งมูลนิธิอานันทมหิดล
  • เสด็จพระราชดำเนินโดยขบวนพยุหยาตราน้อยทางชลมารคไปทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดอรุณราชวราราม เป็นการฟื้นฟูการถวายผ้าพระกฐิน โดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารคครั้งแรกในรัชกาล
  • ๑๑ พ.ย. ๒๕๐๒ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ฟื้นฟูพระราชพิธีสมโภชขึ้นระวางช้างสำคัญช้างแรกในรัชกาล คือ การสมโภช พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ ทรงเริ่มสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมฝีพระหัตถ์
  • ๘ ธ.ค. ๒๕๐๒ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนประเทศเวียตนาม นับเป็นการเสด็จพระราชดำเนินเพื่อเจริญพระราชไมตรีในต่างประเทศอย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรกในรัชกาล


๒๕๐๓

ทศ4-10.jpg
  • ๒ พ.ค. ๒๕๐๓ ทรงฟื้นฟูพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
  • เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนประเทศในทวีปยุโรปและสหรัฐอเมริกา รวม ๑๔ ประเทศ นาน ๗ เดือนเศษ เสด็จพระราชดำเนินกลับประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๐๔


๒๕๐๔
ทรงขับควายเหล็ก.jpg
  • ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้กรมข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นำพันธุ์ข้าวต่างๆ มาปลูกทดลองในบริเวณสวนจิตรลดา และทรงขับรถไถ ควายเหล็ก เพื่อเตรียมแปลงปลูกข้าวในบริเวณโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา ต่อมาได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำข้าวไปใช้ในพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
  • ทรงริเริ่มโครงการป่าไม้สาธิตในบริเวณสวนจิตรลดา เพื่อรวบรวมและศึกษาวงจรของป่าและพันธุ์ไม้ชนิดต่างๆ
  • ๒๖ ธ.ค. ๒๕๐๔ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นับเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในส่วนภูมิภาคแห่งแรกที่เปิดดำเนินการในรัชกาลปัจจุบัน


๒๕๐๕
เสด็จฯ ไปทรงเข้าร่วมประชุมวิชาการ ของชุมนุมภาษาไทย
  • พระราชทานแนวพระราชดำริ ให้สร้างอ่างเก็บน้ำเขาเต่า อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นับเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการชลประทานโครงการแรก
  • ๑๒ ม.ค. ๒๕๐๕ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดโรงโคนมที่สวนจิตรลดา เพื่อรวบรวมข้อมูลสำหรับส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงโคนม
  • ๑๙ มิ.ย. ๒๕๐๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์ สำหรับพระราชทานแด่ประมุขต่างประเทศ พระราชทานแด่พระราชาธิบดีแห่งสหพันธ์มลายา ยังดี เปอตวนอากงเป็นพระองค์แรก
  • ๒๙ ก.ค. ๒๕๐๕ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงร่วมอภิปรายของชุมนุมภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นที่มาของวันภาษาไทยแห่งชาติ
  • ๒๔ ส.ค. ๒๕๐๕ ทรงวางศิลาฤกษ์พระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ ณ ยอดดอยบวกห้า จังหวัดเชียงใหม่
  • ๒๔-๒๕ ต.ค. ๒๕๐๕ เกิดมหาวาตภัย ณ แหลมตะลุมพุก จ.นครศรีธรรมราช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระสุรเสียงผ่านสถานีวิทยุ อ.ส.พระราชวังดุสิต เพื่อเชิญชวนประชาชนบริจาคช่วยผู้ประสบภัย อันเป็นที่มาของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์


๒๕๐๖
อ่างเก็บน้ำเขาเต่า2.jpg
  • ๙ เม.ย. ๒๕๐๖ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเจิมเสาเอกทำนบอ่างเก็บน้ำเขาเต่า จ.ประจวบคีรีขันธ์
  • ๒๓ ส.ค. ๒๕๐๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รับมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • ๕ ธ.ค. ๒๕๐๖ พระราชพิธีมหามงคลเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๓ รอบ
  • ๗ ธ.ค. ๒๕๐๖ เสด็จพระราชดำเนินเลียบพระนครโดยขบวนพยุหยาตราใหญ่ทางสถลมารคตามโบราณราชประเพณี เนื่องในโอกาสทรงพระเจริญพระชนมพรรษา ๓ รอบ


๒๕๐๗
ทศ4-30.jpg
  • ทรงต่อเรือใบลำแรก เป็นเรือใบประเภทเอนเทอร์ไพร์ส พระราชทานชื่อ ราชปะแตน ต่อมาทรงออกแบบและทรงต่อเรือใบ เช่น เรือมด ซูเปอร์มด ไมโครมด
  • เริ่มโครงการจัดพัฒนาที่ดินตามพระราชประสงค์ที่หุบกระพง อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี


๒๕๐๘
  • ๒๕ มี.ค.๒๕๐๘ สมเด็จเจ้าฟ้าชายอากิฮิโตมกุฎราชกุมารแห่งประเทศญี่ปุ่น น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพันธุ์ปลาจากทวีปแอฟริกา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงริเริ่มโครงการเลี้ยงปลา บริเวณโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลาด
  • ๒๙ ส.ค. ๒๕๐๘ พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมพรรษาเสมอสมเด็จพระราชบิดา (เมื่อพระชนมพรรษา ๓๘ พรรษา)
  • เริ่มโครงการฟาร์มส่วนพระองค์ที่หุบเขาหาดทรายใหญ่บ้านเขาเต่า อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ซึ่งเดิมเป็นพื้นที่ค่อนข้างแห้งแล้ง
  • ทรงต่อเรือใบประเภทโอเคตามแบบสากลลำแรก ชื่อ นวฤกษ์ หลังจากนั้นทรงต่อเรือใบประเภทนี้อีก เช่น เรือ เวคา๑ เวคา๒ เวคา๓


๒๕๐๙

  • ๑๗ มี.ค. ๒๕๐๙ พระราชทานพันธุ์ปลาจากบริเวณโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดาแก่กรมประมง จำนวน ๑๐,๐๐๐ ตัว เพื่อให้นำไปขยายพันธุ์แจกจ่ายแก่ราษฎร พร้อมทั้งพระราชทานนามว่า ปลานิล
  • ๖ เม.ย. ๒๕๐๙ ทรงสร้าง หลวงพ่อจิตรลาด พระพิมพ์สมเด็จแบบพิเศษ ณ พระตำหนักจิตรลาดรโหฐาน
  • ทรงเททองหล่อ พระพุทธนวราชบพิตร เพื่อประดิษฐานไว้ ณ จังหวัดต่างๆ ทั่วพระราชอาณาจักร
  • ๒ ธ.ค. ๒๕๐๙ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย พระคฑาจอมทัพภูมิพลในฐานะที่ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย
  • ๙ ธ.ค. ๒๕๐๙ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดการแข่งขันกีฬาเอเเชียนเกมส์ ครั้งที่ ๕ ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ณ สนามศุภชลาศัยกรีฑาสถานแห่งชาติ
  • ทรงต่อเรือใบประเภทม็อธ พระราชทานชื่อมด ซูเปอร์มดและ ไมโครมด


๒๕๑๐

การกีฬา6.jpg
  • ทรงออกแบบและต่อเรือใบลำสุดท้าย คือเรือโม้ก มีลักษณะผสมระหว่างเรือโอเคและเรือซูเปอร์มด
  • ๑๖ ธ.ค. ๒๕๑๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีทรงร่วมแข่งขันเรือใบประเภทโอเคในกีฬาแหลมทอง (SEAP GAMES) ครั้งที่ ๔ และทั้ง ๒ พระองค์ชนะเลิศครองเหรียญทองร่วมกัน เป็นที่มาของวันกีฬาแห่งชาติ


๒๕๑๑


๒๕๑๒

  • ๒๙ ม.ค. ๒๕๑๒ กำเนิดหน่วยแพทย์พระราชทาน
  • ๒๕ ก.พ. ๒๕๑๒ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมชาวไทยภูเขาพร้อมทั้งมีพระราชดำริในการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ เป็นที่มาของโครงการหลวง
  • ๑ ก.ค. ๒๕๑๒ คณะปฏิบัติการฝนหลวง เริ่มบินปฏิบัติการทดลองทำฝนเทียมกับเมฆบนท้องฟ้าเป็นครั้งแรกบริเวณท้องฟ้าเหนืออุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
  • ๗ พ.ย. ๒๕๑๒ พระราชทานพระบรมราชวโรกาสแก่คณะกรรมการโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนเข้าเฝ้ารับฟังพระราชกระแสเกี่ยวกับวัตถุประสงค์แนวพระราชดำริ และวิธีปฏิบัติในการจัดทำสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน


๒๕๑๓

  • มีพระราชดำริให้จัดตั้งธนาคารข้าวบ้านป่าแป๋ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นธนาคารข้าวอันเนื่องมาจากพระราชดำริแห่งแรก


๒๕๑๔

ทศ5-28.jpg
  • พระราชพิธี ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๒๕ ปี
  • ๑๖ มี.ค. ๒๕๑๔ คณะรัฐมนตรีมีมติสร้างถนนวงแหวนแทนการสร้างอนุสาวรีย์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสพระราชพิธีรัชาดภิเษกเป็นที่มาของถนนรัชดาภิเษก ถนนวงแหวนสายแรกของเมืองไทย
  • ๘ พ.ค. ๒๕๑๔ เสด็จพระราชดำเนินเปิดโรงสีข้าวตัวอย่าง สวนจิตรลดา และเริ่มกิจการโรงสีข้าวในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา
  • ๘ มิ.ย. ๒๕๑๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ไปทรงวางศิลาฤกษ์ถนนรัชดาภิเษก บริเวณเชิงสะพานกรุงเทพตัดกับถนนเจริญกรุง
  • ๙ มิ.ย. ๒๕๑๔ พระราชพิธีรัชดาภิเษกฉลองสิริราชสมบัติครบ ๒๕ ปี
  • ๑๒ ส.ค. ๒๕๑๔ พระราชทานโฉนดที่ดินแก่สหกรณ์การเกษตรหุบกระพง


๒๕๑๕
  • ๑๙ ต.ค. ๒๕๑๕ ทรงบัญชาการควบคุมปฏิบัติการฝนหลวง สาธิตแก่ผู้แทนจากประเทศสิงคโปร์ ฝนตกในพื้นที่เป้าหมายที่กำหนดคือ อ่างเก็บน้ำเขื่อนแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี
  • ๓๐ ต.ค. ๒๕๑๕ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดโรงเรียนร่มเกล้าแห่งแรกที่บ้านหนองแคน อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม
  • เริ่มโครงการโรงงานหลวงอาหารสำเร็จรูปเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่เสียเปรียบ และประสบปัญหาในการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตร
  • เริ่มโครงการจัดพัฒนาที่ดินตามพระราชประสงค์ทุ่งลุยลาย จังหวัดชัยภูมิ


๒๕๑๖

  • ๑๔ ต.ค. ๒๕๑๖ พระราชทานกระแสพระราชดำรัสทางโทรทัศน์ให้ประชาชนชาวไทยร่วมมือกันแก้ไขปัญหาบ้านเมืองเพื่อก่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยโดยเร็ว


๒๕๑๗

  • ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้มีการทดลองปลูกข้าวไร่ และข้าวหยอดหลุมภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา
  • เริ่มโครงการระบายน้ำพรุบาเจาะ จังหวัดนราธิวาสตามแนวพระราชดำริ


๒๕๑๘

  • มีพระราชดำริให้จัดตั้งโครงการพระดาบสโดยจัดการเรียนการสอนทักษะวิชาชีพและเน้นการสอนคุณธรรม จริยธรรม ต่อมาพัฒนาเป็นโรงเรียนพระดาบส


๒๕๑๙

  • พระราชทานพระราชดำริเกี่ยวกับป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ณ หน่วยพัฒนาต้นน้ำทุ่งจ๊อ
  • ทรงแปลเรื่อง ติโต และต่อมาพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดพิมพ์เผยแพร่เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา พุทธศักราช ๒๕๓๗


๒๕๒๐

  • ๒๔ ม.ค. ๒๕๒๐ พระราชทานแนวพระราชดำรัสเรื่องปลูกป่าทดแทน ณ สถานีหลวงพัฒนาชาวเขา จังหวัดเชียงใหม่
  • ๒๐ มิ.ย. ๒๕๒๐ ทรงแปล นายอินทร์ ผู้ปิดทองหลังพระ ทรงใช้เวลา ๓ ปี เสร็จสมบูรณ์ในเดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพิมพ์เพื่อ พ.ศ.๒๕๓๖
  • ทรงสดับพระธรรมเทศนาของสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผาติการาม เรื่อง พระมหาชนก เป็นแรงบันดาลพระราชหฤทัยให้ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมพุทธศาสนาเรื่อง พระมหาชนก ในเวลาต่อมา
  • ๕ ธ.ค. ๒๕๒๐ พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๕๐ พรรษา และพระราชพิธีเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ


๒๕๒๑

  • ๑๑ พ.ค. ๒๕๒๑ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รับงานการผลิตแก๊ซชีวภาพไว้ในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา
  • ๘ ธ.ค. ๒๕๒๑ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ ๘ ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ณ สนามศุภชลาศัยกรีฑาสถานแห่งชาติ


๒๕๒๒

ทศ6-07.jpg
  • ๓๐ มิ.ย. ๒๕๒๒ พระราชทานแนวพระราชดำริเรื่องธนาคารโค-กระบือ ณ โครงการพัฒนาพื้นที่ราบเชิงเขา จ.ปราจีนบุรี
  • ๘ ส.ค. ๒๕๒๒ กำเนิดศูนย์การพัฒนาเขาหินซ้อน จ.ฉะเชิงเทรา ถือเป็นศูนย์การพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริแห่งแรก


๒๕๒๓
  • ๑๙ ต.ค. ๒๕๒๓ หลังจากเสด็จพระราชดำเนินตรวจพื้นที่น้ำท่วม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมเข้ารับแนวพระราชดำริ เนื่องจากปัญหาน้ำท่วมพื้นที่ฝั่งตะวันออกของกรุงเทพฯ รุนแรงอย่างไม่เคยปรากฎมาก่อน มีพระราชดำรัสให้เร่งระบายน้ำออกสู่ทะเล โดยผ่านแนวคลองฝั่งตะวันออก


๒๕๒๕

  • พระราชพิธีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี
  • ๒๕ ก.พ. ๒๕๒๕ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดเขื่อนนเรศวร และมีพระราชดำริให้กรมชลประทานวางโครงการก่อสร้างเขื่อนเก็บกักน้ำแควน้อย


๒๕๒๖

  • ๘ ต.ค. ๒๕๒๖ เสด็จพระราชดำเนินโดยเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่งไปทรงตรวจพื้นที่น้ำท่วมในเขตกรุงเทพมหานคร
  • ๒๗ ต.ค. ๒๕๒๖ เสด็จพระราชดำเนินเป็นการส่วนพระองค์ไปทอดพระเนตรสภาพน้ำท่วมบริเวณซอยศูนย์วิจัย เขตห้วยขวาง
  • ๗ พ.ย. ๒๕๒๖ เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรน้ำท่วมบริเวณคลองลาดพร้าว คลองหนองบอน ตามแนวถนนบางพลี
  • ๒๔ พ.ย. ๒๕๒๖ เสด็จพระราชดำเนินไปยังพื้นที่น้ำท่วมฝั่งธนบุรี


๒๕๒๗


๒๕๒๘

  • ๗ ม.ค. ๒๕๒๘ พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมพรรษาเสมอสมเด็จพระบรมอัยกาธิราช พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕๗ พรรษา ๓๓ วัน
  • ๔ เม.ย. ๒๕๒๘ พระราชทานแนวพระราชดำริเรื่องน้ำดีไล่น้ำเสีย ขณะเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรบริเวณประตูระบายน้ำปากคลองผดุงกรุงเกษม บริเวณเทเวศร์ คลองแสนแสบ และคลองลาดพร้าว
  • มีพระราชดำรัสให้ศึกษาต้นทุนในการนำอ้อยมาแปรรูปเป็นเอทานอลเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทน เมื่อเกิดการขาดแคลนน้ำมันในอนาคตและเป็นการสนับสนุนให้เกษตรกรชาวไร่อ้อยมีรายได้เพิ่มขึ้น


๒๕๒๙

  • ๑๖ ม.ค. ๒๕๒๙ พระราชทานนามเขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธานในพิธีเปิดเมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์
  • ๒๔ ก.พ. ๒๕๒๙ คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ถวายพระราชสมัญญา อัครศิลปิน
  • ทรงเปิดโรงกลั่นแอลกอฮอล์ในสวนจิตรลดา ค้นคว้าการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เพื่อนำมาทำน้ำมันเชื้อเพลิงตามแนวพระราชดำริ รวมทั้งทดลองผสมแอลกอฮอล์ ๙๕ เปอร์เซนต์ กับน้ำมันเบนซิน จนได้แก๊สโซฮอล์
  • ทรงก่อตั้งวงดนตรีสหายพัฒนา เน้นการเล่นเครื่องเป่าโดยเฉพาะแตรและทรัมเป็ต