ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก"

(สร้างหน้าใหม่: <div id="bg_g8"> <center><h1>พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ๒ กรกฎาคม พุทธศักรา...)
 
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
<div id="bg_g8">
+
<div id="bg_g6t">&nbsp;</div>
 +
<div id="bg_g7">
  
 
<center><h1>พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑</h1></center>
 
<center><h1>พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑</h1></center>
 
<span class="kindent">พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ในรัชกาลที่ ๙ เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้น เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานยิ่งกว่าสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าในประวัติศาสตร์ชาติไทย นับตั้งแต่วันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ ถึงวันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ เป็นเวลา ๔๒ ปี ๒๓ วัน</span>
 
<span class="kindent">พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ในรัชกาลที่ ๙ เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้น เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานยิ่งกว่าสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าในประวัติศาสตร์ชาติไทย นับตั้งแต่วันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ ถึงวันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ เป็นเวลา ๔๒ ปี ๒๓ วัน</span>
  
<h3>ตราสัญลักษณ์งานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี</h3>
+
<h3>ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก</h3>
  
 
{| width="90%" border="0"
 
{| width="90%" border="0"
แถว 12: แถว 13:
  
  
[[หมวดหมู่:รัชกาลที่9]]
+
[[หมวดหมู่:พระราชพิธี]]
 
</div>
 
</div>

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:56, 8 ตุลาคม 2552

 

พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑

พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ในรัชกาลที่ ๙ เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้น เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานยิ่งกว่าสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าในประวัติศาสตร์ชาติไทย นับตั้งแต่วันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ ถึงวันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ เป็นเวลา ๔๒ ปี ๒๓ วัน

ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก

Rama9-emblem-longest2531.png
ตราสัญลักษณ์ งานพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ออกแบบโดย นายสุนทร วิไล นายช่างกองหัตถศิลป์ กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ (ในขณะนั้น) ประกอบด้วย พระราชลัญจกรประจำพระองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ ๙ ประดิษฐานอยู่กึ่งกลาง และมี เครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์ คือ พระมหาพิชัยมงกุฎ พระแสงขรรค์ชัยศรี ธารพระกรชัยพฤกษ์ พัดวาลวิชนีและพระแส้จามรี และฉลองพระบาทเชิงงอน ประกอบอยู่โดยรอบ พร้อมฉัตร ๗ ชั้น ประดับอยู่ซ้ายและขวา มีแพรแถบจารึกอักษรข้อความว่า "พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก วันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑"