ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ"

(สร้างหน้าใหม่: <center><h1>ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ ร...)
 
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
 
<center><h1>ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ </h1></center>
 
<center><h1>ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ </h1></center>
  
<div style="display:block; width:210px; float:left; margin-left:20px">[[ภาพ:King_6th_cycle_logo.jpg|center|200px]]</div>
+
{| width="90%" border="0"
<div style="display:block; width:60%; float:left">
+
|width="220px" valign="top"|[[ภาพ:King_6th_cycle_logo.jpg|center|200px]]||align = "left" width="500px"|<div class="kindent">ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ประกอบด้วย อักษรพระปรมาภิไธยย่อ ภปร ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎ อยู่ตรงกลาง ประดิษฐานอยู่เหนือพระที่นั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ เป็นการแสดงความหมายว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเป็นศูนย์รวมดวงใจของคนไทยทั้งชาติ ทรงเป็นที่ยึดเหนี่ยว และเป็นที่เคารพบูชาอย่างสูงสุดของประชาชน สีเหลืองของอักษรพระปรมาภิไธยย่อ ภปร เป็นสีประจำวันพระบรมราชสมภพ อยู่บนพื้นวงกลมสีน้ำเงิน ซึ่งหมายถึงพระมหากษัตริย์ ล้อมรอบด้วย ตราพระแสงจักร และมีเลข ๙ บนอักษรพระปรมาภิไธยย่อ ภปร ซึ่งหมายถึง ทรงเป็น พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ มีสัปตปฎลเศวตฉัตร ประกอบอยู่ ๒ ข้าง ซ้ายและขวา และมีนพปฎลมหาเศวตฉัตร ประดิษฐานอยู่เบื้องบนสุด
<div class="kindent">ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ประกอบด้วย อักษรพระปรมาภิไธยย่อ ภปร ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎ อยู่ตรงกลาง ประดิษฐานอยู่เหนือพระที่นั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ เป็นการแสดงความหมายว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเป็นศูนย์รวมดวงใจของคนไทยทั้งชาติ ทรงเป็นที่ยึดเหนี่ยว และเป็นที่เคารพบูชาอย่างสูงสุดของประชาชน สีเหลืองของอักษรพระปรมาภิไธยย่อ ภปร เป็นสีประจำวันพระบรมราชสมภพ อยู่บนพื้นวงกลมสีน้ำเงิน ซึ่งหมายถึงพระมหากษัตริย์ ล้อมรอบด้วย ตราพระแสงจักร และมีเลข ๙ บนอักษรพระปรมาภิไธยย่อ ภปร ซึ่งหมายถึง ทรงเป็น พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ มีสัปตปฎลเศวตฉัตร ประกอบอยู่ ๒ ข้าง ซ้ายและขวา และมีนพปฎลมหาเศวตฉัตร ประดิษฐานอยู่เบื้องบนสุด
 
  
 
เส้นกรอบรอบนอก ที่ออกแบบให้มีลักษณะ เป็น ๔ แฉก หรือ ๔ ส่วน แทนประชาชนชาวไทย ทั่วทุกภาคของประเทศ ที่อยู่ภายใต้ พระบรมโพธิสมภารของพระองค์ ด้วยความร่มเย็นเป็นสุข สีพื้นจึงเป็นสีเขียว อันแสดงถึงความสงบร่มเย็น และอุดมสมบูรณ์ มีดอกบัว ๔ ดอก แทรกตรงกลางระหว่างแฉกทั้ง ๔ แสดงความหมายเป็นการเทิดทูนบูชา ในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ
 
เส้นกรอบรอบนอก ที่ออกแบบให้มีลักษณะ เป็น ๔ แฉก หรือ ๔ ส่วน แทนประชาชนชาวไทย ทั่วทุกภาคของประเทศ ที่อยู่ภายใต้ พระบรมโพธิสมภารของพระองค์ ด้วยความร่มเย็นเป็นสุข สีพื้นจึงเป็นสีเขียว อันแสดงถึงความสงบร่มเย็น และอุดมสมบูรณ์ มีดอกบัว ๔ ดอก แทรกตรงกลางระหว่างแฉกทั้ง ๔ แสดงความหมายเป็นการเทิดทูนบูชา ในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ
แถว 11: แถว 10:
 
เบื้องล่าง ออกแบบเป็นแพรแถบสีน้ำเงิน แสดงข้อความ “พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒”
 
เบื้องล่าง ออกแบบเป็นแพรแถบสีน้ำเงิน แสดงข้อความ “พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒”
 
</div>
 
</div>
 +
 +
 +
|-
 +
|}
  
 
[[หมวดหมู่:รัชกาลที่9]]
 
[[หมวดหมู่:รัชกาลที่9]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:44, 8 ตุลาคม 2552

ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ

King 6th cycle logo.jpg
ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ประกอบด้วย อักษรพระปรมาภิไธยย่อ ภปร ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎ อยู่ตรงกลาง ประดิษฐานอยู่เหนือพระที่นั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ เป็นการแสดงความหมายว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเป็นศูนย์รวมดวงใจของคนไทยทั้งชาติ ทรงเป็นที่ยึดเหนี่ยว และเป็นที่เคารพบูชาอย่างสูงสุดของประชาชน สีเหลืองของอักษรพระปรมาภิไธยย่อ ภปร เป็นสีประจำวันพระบรมราชสมภพ อยู่บนพื้นวงกลมสีน้ำเงิน ซึ่งหมายถึงพระมหากษัตริย์ ล้อมรอบด้วย ตราพระแสงจักร และมีเลข ๙ บนอักษรพระปรมาภิไธยย่อ ภปร ซึ่งหมายถึง ทรงเป็น พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ มีสัปตปฎลเศวตฉัตร ประกอบอยู่ ๒ ข้าง ซ้ายและขวา และมีนพปฎลมหาเศวตฉัตร ประดิษฐานอยู่เบื้องบนสุด

เส้นกรอบรอบนอก ที่ออกแบบให้มีลักษณะ เป็น ๔ แฉก หรือ ๔ ส่วน แทนประชาชนชาวไทย ทั่วทุกภาคของประเทศ ที่อยู่ภายใต้ พระบรมโพธิสมภารของพระองค์ ด้วยความร่มเย็นเป็นสุข สีพื้นจึงเป็นสีเขียว อันแสดงถึงความสงบร่มเย็น และอุดมสมบูรณ์ มีดอกบัว ๔ ดอก แทรกตรงกลางระหว่างแฉกทั้ง ๔ แสดงความหมายเป็นการเทิดทูนบูชา ในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ

รัศมีสีทองโดย รอบ เปรียบได้ดังพระบุญญาบารมี พระมหากรุณาธิคุณ และ น้ำพระราชหฤทัย ที่แผ่ไพศาลไปทั่วทุกทิศ ทั้งในและต่างประเทศทั่วโลก ยังความปลาบปลื้ม มาสู่พสกนิกรทุกหมู่เหล่า

เบื้องล่าง ออกแบบเป็นแพรแถบสีน้ำเงิน แสดงข้อความ “พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒”