ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระทรงเป็นดั่งศูนย์รวมใจเพื่อความสมานฉันท์ของคนในชาติ"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
<div id="bg_g8"> | <div id="bg_g8"> | ||
+ | |||
+ | [[ภาพ:021009-ฐานะพระมหากษัตริย์-3.jpg|center|400px]] | ||
+ | |||
<center><h1>พระทรงเป็นดั่งศูนย์รวมใจเพื่อความสมานฉันท์ของคนในชาติ</h1></center> | <center><h1>พระทรงเป็นดั่งศูนย์รวมใจเพื่อความสมานฉันท์ของคนในชาติ</h1></center> | ||
<div class="kindent">ประวัติศาสตร์การเมืองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยตั้งแต่พุทธศักราช ๒๔๗๕ เป็นต้นมา มีวิวัฒนาการจากที่กล่าวกันว่าเป็นระบอบประชาธิปไตยแบบไทยๆ มาสู่ยุคประชาธิปไตยเบ่งบานในชั่วระยะเวลาสั้นๆ (พุทธศักราช ๒๕๑๖ - ๒๕๑๙) และตามมาด้วยระบบเผด็จการโดยพลเรือนชั่วระยะเวลาหนึ่ง ก่อนมีการประสานผลประโยชน์มาสู่ลักษณะของประชาธิปไตยครึ่งใบ จนพุทธศักราช ๒๕๔๐ ที่มีการประกาศรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่กล่าวกันว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน | <div class="kindent">ประวัติศาสตร์การเมืองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยตั้งแต่พุทธศักราช ๒๔๗๕ เป็นต้นมา มีวิวัฒนาการจากที่กล่าวกันว่าเป็นระบอบประชาธิปไตยแบบไทยๆ มาสู่ยุคประชาธิปไตยเบ่งบานในชั่วระยะเวลาสั้นๆ (พุทธศักราช ๒๕๑๖ - ๒๕๑๙) และตามมาด้วยระบบเผด็จการโดยพลเรือนชั่วระยะเวลาหนึ่ง ก่อนมีการประสานผลประโยชน์มาสู่ลักษณะของประชาธิปไตยครึ่งใบ จนพุทธศักราช ๒๕๔๐ ที่มีการประกาศรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่กล่าวกันว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน | ||
แถว 11: | แถว 14: | ||
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงปฏิบัติหน้าที่ภายใต้บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญอย่างสมศักดิ์ขัตติยราชัน ทรงวางพระองค์เป็นกลางตลอดมาในบรรยากาศทางการเมืองที่มีการแบ่งกลุ่มแบ่งฝ่าย และแข่งขันอำนาจกันนอกวิถีทางของระบอบประชาธิปไตย ทรงเป็นหลักสูงสุดและศูนย์รวมใจทางการเมือง รวมทั้งยังทรงสนับสนุนให้ระบอบประชาธิปไตยสามารถหยั่งรากลงบนประเทศไทยอย่างมั่นคง แม้ประชาธิปไตยนั้นจะไม่สมบูรณ์ตามรูปแบบทรงวางพระองค์เป็นกลางบนวิถีการสร้างประโยชน์แก่ประชาชนเป็นสำคัญ | พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงปฏิบัติหน้าที่ภายใต้บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญอย่างสมศักดิ์ขัตติยราชัน ทรงวางพระองค์เป็นกลางตลอดมาในบรรยากาศทางการเมืองที่มีการแบ่งกลุ่มแบ่งฝ่าย และแข่งขันอำนาจกันนอกวิถีทางของระบอบประชาธิปไตย ทรงเป็นหลักสูงสุดและศูนย์รวมใจทางการเมือง รวมทั้งยังทรงสนับสนุนให้ระบอบประชาธิปไตยสามารถหยั่งรากลงบนประเทศไทยอย่างมั่นคง แม้ประชาธิปไตยนั้นจะไม่สมบูรณ์ตามรูปแบบทรงวางพระองค์เป็นกลางบนวิถีการสร้างประโยชน์แก่ประชาชนเป็นสำคัญ | ||
+ | |||
+ | [[ภาพ:021009-ฐานะพระมหากษัตริย์-4.jpg|center|600px]] | ||
<span style="color:#2FA629">นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติจวบจนปัจจุบัน เป็น ๖๐ ปีที่การเมืองการปกครองของไทยมีการพัฒนาขึ้นเป็นลำดับ การฝ่าฟันเหตุการณ์วิกฤตทางการเมืองต่างๆ อย่างมากมายช่วยส่งเสริมให้ประเทศมีรัฐธรรมนูญที่เข้มแข็งมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ด้วยพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระราชทานแนวพระราชดำริ และพระบรมราโชวาทเพื่อเตือนใจทั้งคณะผู้บริหารและประชาชนทุกคนให้ร่วมมือร่วมใจกันสร้างการเมืองการปกครองที่พัฒนาอย่างยั่งยืน</span> | <span style="color:#2FA629">นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติจวบจนปัจจุบัน เป็น ๖๐ ปีที่การเมืองการปกครองของไทยมีการพัฒนาขึ้นเป็นลำดับ การฝ่าฟันเหตุการณ์วิกฤตทางการเมืองต่างๆ อย่างมากมายช่วยส่งเสริมให้ประเทศมีรัฐธรรมนูญที่เข้มแข็งมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ด้วยพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระราชทานแนวพระราชดำริ และพระบรมราโชวาทเพื่อเตือนใจทั้งคณะผู้บริหารและประชาชนทุกคนให้ร่วมมือร่วมใจกันสร้างการเมืองการปกครองที่พัฒนาอย่างยั่งยืน</span> |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:30, 2 ตุลาคม 2552
พระทรงเป็นดั่งศูนย์รวมใจเพื่อความสมานฉันท์ของคนในชาติ
ในสถานการณ์การเมืองดังกล่าว เครื่องมือสำคัญที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้เพื่อสร้างความสมานฉันท์ทางการเมือง นั่นคือ พระราชดำรัสในเรื่องของความเห็นอกเห็นใจและการให้ความสนับสนุนซึ่งกันและกัน อันเป็นปัจจัยที่ทำให้ประชาชนมีความเอื้อเฟื้อต่อกันและยินดีที่จะช่วยเหลือกันเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมในท้ายที่สุด ประชาชนทุกคนก็จะได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน จากการกระทำดังกล่าว
ไม่เพียงเท่านี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงเน้นในเรื่องการรู้รักสามัคคี ซึ่งนอกจากเป็นการสร้างความสมานฉันท์ทางการเมืองแล้วยังสามารถนำไปเป็นพื้นฐานในการดำเนินงานทุกสิ่งทุกอย่างให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี ทั้งนี้พระราชดำรัสเกี่ยวกับการรู้รักสามัคคีดังในคราวเสด็จออกมหาสมาคมในงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐ ความตอนหนึ่งว่า
“...ความสามัคคีนี้เป็นคุณธรรมสำคัญประการหนึ่งซึ่งหมู่ชนผู้อยู่ร่วมกันจำเป็นต้องมี ต้องถนอมรักษาและต้องนำมาใช้อยู่สม่ำเสมอ เนื่องด้วยสรรพกิจการงานที่เป็นส่วนรวมทุกด้าน ทุกระดับ ต้องอาศัยบุคคลหลายฝ่ายร่วมกันคิดร่วมกันทำ. ถ้าแต่ละฝ่ายเข้ามาร่วมงานกันด้วยความตั้งใจดีด้วยความรู้ความสามารถ ด้วยความฉลาดมีเหตุผล และด้วยความคิดที่สร้างสรรค์ งานก็จะสำเร็จผลสมบูรณ์งดงามตามประสงค์ทุกอย่าง...”
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงปฏิบัติหน้าที่ภายใต้บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญอย่างสมศักดิ์ขัตติยราชัน ทรงวางพระองค์เป็นกลางตลอดมาในบรรยากาศทางการเมืองที่มีการแบ่งกลุ่มแบ่งฝ่าย และแข่งขันอำนาจกันนอกวิถีทางของระบอบประชาธิปไตย ทรงเป็นหลักสูงสุดและศูนย์รวมใจทางการเมือง รวมทั้งยังทรงสนับสนุนให้ระบอบประชาธิปไตยสามารถหยั่งรากลงบนประเทศไทยอย่างมั่นคง แม้ประชาธิปไตยนั้นจะไม่สมบูรณ์ตามรูปแบบทรงวางพระองค์เป็นกลางบนวิถีการสร้างประโยชน์แก่ประชาชนเป็นสำคัญ
นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติจวบจนปัจจุบัน เป็น ๖๐ ปีที่การเมืองการปกครองของไทยมีการพัฒนาขึ้นเป็นลำดับ การฝ่าฟันเหตุการณ์วิกฤตทางการเมืองต่างๆ อย่างมากมายช่วยส่งเสริมให้ประเทศมีรัฐธรรมนูญที่เข้มแข็งมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ด้วยพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระราชทานแนวพระราชดำริ และพระบรมราโชวาทเพื่อเตือนใจทั้งคณะผู้บริหารและประชาชนทุกคนให้ร่วมมือร่วมใจกันสร้างการเมืองการปกครองที่พัฒนาอย่างยั่งยืน