ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ค-โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 2: | แถว 2: | ||
<div id="bg_g5t"> </div> | <div id="bg_g5t"> </div> | ||
<div id="bg_g5"> | <div id="bg_g5"> | ||
+ | <center><h1>โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาทรงทดลองเพื่อแก้ปัญหาปากท้อง</h1></center> | ||
− | <div class="kindent"> | + | |
+ | <div class="kindent">จากการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรในชนบททั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ทำให้ทรงทราบถึงปัญหาความทุกข์ยากของราษฎร ด้วยพระราชปณิธานที่ทรงมุ่งมั่นยกระดับความเป็นอยู่ของราษฎรให้ดีขึ้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงนำองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มาประมวลขึ้นเป็นเทคโนโลยี และทรงรังสรรค์นวัตกรรมที่หลากหลาย เพื่อสร้างความมั่นคงด้านอาหารให้แก่ราษฎรและพัฒนาการเกษตรให้ดีขึ้น เนื่องจากเป็นอาชีพของคนส่วนใหญ่ของประเทศ อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้อยู่ดีกินดีมีความสุข เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาบ้านเมือง และมีความองอาจสมกับฐานะประเทศที่เป็นครัวของโลกทรงเริ่มงานทดลองส่วนพระองค์เบื้องต้นจากโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ทรงใช้พื้นที่บางส่วนของสวนจิตรลดาเป็นสถานที่ศึกษา ค้นคว้า ทดลองเพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของราษฎรในชนบทที่เกิดจากการขาดสารอาหารโปรตีน โดยทรงแนะให้ศึกษาทดลองการเพาะพันธุ์ปลาน้ำจืด อาทิ ปลาหมอเทศและปลานิล และจัดตั้งโครงการประมงพระราชทานในพุทธศักราช ๒๔๙๕ เพื่อพระราชทานพันธุ์ปลาให้กรมประมงนำไปแจกจ่ายแก่ราษฎรและปล่อยลงในแหล่งน้ำธรรมชาติ | ||
+ | |||
+ | [[ภาพ:051009-การเกษตร-01.jpg|center]] | ||
+ | |||
+ | พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงคุณค่าของอาหารนมที่มีต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ หลังจากเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศเดนมาร์กในพุทธศักราช ๒๕๐๓ ได้มีความ | ||
+ | ร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลเดนมาร์กในการจัดตั้งฟาร์มโคนมไทย - เดนมาร์กขึ้น ที่อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี โดยเริ่มเปิดดำเนินการในพุทธศักราช ๒๕๐๔ ในปีถัดมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงจัดตั้งโครงการโรงโคนมสวนจิตรลดา เพื่อทรงศึกษาวิชาการแผนใหม่เกี่ยวกับการบริหารกิจการโคนมให้ครบวงจรมากยิ่งขึ้นเป็นการส่งเสริมการเลี้ยงโคนมให้เกษตรกรสามารถประกอบเป็นอาชีพได้ นอกจากนี้ ยังเป็นการส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน รวมถึงสงวนเงินตราต่างประเทศในการสั่งซื้อผลิตภัณฑ์อาหารนมจากต่างประเทศ | ||
</div> | </div> | ||
แถว 45: | แถว 52: | ||
</div> | </div> | ||
+ | '''ตาราง''' โครงการศึกษาวิจัยในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา จำแนกตามประเภท | ||
+ | |||
+ | {| width="600" border="1" | ||
+ | |align = "center" width="80px"|พุทธศักราช||align = "center" width="250px"|โครงการแบบไม่ใช่ธุรกิจ||align = "center" width="250px"|โครงการกึ่งธุรกิจ | ||
+ | |- | ||
+ | |๒๕๐๓||ป่าไม้สาธิต||align = "center"|- | ||
+ | |- | ||
+ | |๒๕๐๔||นาข้าวทดลอง||align = "center"|- | ||
+ | |- | ||
+ | |๒๕๐๕||align = "center"|-||โรงโคนมสวนจิตรลดา | ||
+ | |- | ||
+ | |๒๕๐๖||ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์||align = "center"|- | ||
+ | |- | ||
+ | |๒๕๐๘||ปลานิล||align = "center"|- | ||
+ | |- | ||
+ | |๒๕๐๑๒||align = "center"|-||โรงนมผงสวนดุสิต ศูนย์รวมนมสวนจิตรลดา | ||
+ | |- | ||
+ | |๒๕๐๑๔||align = "center"|-||โรงสีข้าวตัวอย่างสวนจิตรลดา | ||
+ | |- | ||
+ | |๒๕๐๒๑||การผลิตแก๊สชีวภาพ||align = "center"|- | ||
+ | |- | ||
+ | |๒๕๐๒๗||align = "center"|-||โรงนมเม็ดสวนดุสิต | ||
+ | |- | ||
+ | |๒๕๒๘||ห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อโครงการบำบัดน้ำเสีย||align = "center"|- | ||
+ | |- | ||
+ | |๒๕๒๙||โครงการสาหร่ายเกลียวทอง||โรงกลั่นแอลกอฮอล์ | ||
+ | |- | ||
+ | |๒๕๓๐||align = "center"|-||โรงบดแกลบ โรงเนยแข็ง | ||
+ | |- | ||
+ | |๒๕๓๑||align = "center"|-||โรงเพาะเห็ด | ||
+ | |- | ||
+ | |๒๕๓๔||align = "center"|-||โรงกระดาษสาเฉลิมพระเกียรติ | ||
+ | |- | ||
+ | |๒๕๓๕||align = "center"|-||โรงน้ำผลไม้บรรจุกระป๋อง | ||
+ | |- | ||
+ | |} | ||
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]][[หมวดหมู่:โครงการ]][[หมวดหมู่:การเกษตร]] | [[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]][[หมวดหมู่:โครงการ]][[หมวดหมู่:การเกษตร]] | ||
+ | |||
+ | '''ที่มา:''' สารานุกรมโครงการพระราชดำริ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พุทธศักราช ๒๕๔๗ | ||
+ | |||
+ | กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | ||
+ | |||
</div> | </div> |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:17, 5 ตุลาคม 2552
โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาทรงทดลองเพื่อแก้ปัญหาปากท้อง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงคุณค่าของอาหารนมที่มีต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ หลังจากเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศเดนมาร์กในพุทธศักราช ๒๕๐๓ ได้มีความ ร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลเดนมาร์กในการจัดตั้งฟาร์มโคนมไทย - เดนมาร์กขึ้น ที่อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี โดยเริ่มเปิดดำเนินการในพุทธศักราช ๒๕๐๔ ในปีถัดมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงจัดตั้งโครงการโรงโคนมสวนจิตรลดา เพื่อทรงศึกษาวิชาการแผนใหม่เกี่ยวกับการบริหารกิจการโคนมให้ครบวงจรมากยิ่งขึ้นเป็นการส่งเสริมการเลี้ยงโคนมให้เกษตรกรสามารถประกอบเป็นอาชีพได้ นอกจากนี้ ยังเป็นการส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน รวมถึงสงวนเงินตราต่างประเทศในการสั่งซื้อผลิตภัณฑ์อาหารนมจากต่างประเทศ
พันธุ์ปลาพระราชทาน
ปลาหมอเทศ
คราใดที่เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรในพื้นที่ต่างๆ จะทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจปล่อยพันธุ์ปลาในแหล่งน้ำธรรมชาติคราวละจำนวนมากๆ ทั้งปลานิลและปลาน้ำจืดอื่นๆ เพี่อให้เป็นปลาเศรษฐกิจที่มีคุณภาพและมูลค่า เป็นที่นิยมบริโภคของประชาชนทั่วไป สมดังพระราชประสงค์ที่ต้องการให้ประชาชนได้มีอาหารโปรตีนบริโภคกันอย่างทั่วถึง รวมทั้งก่อให้เกิดประโยชน์ต่ออาชีพประมงของประชาชนอย่างมหาศาลในปัจจุบัน
พันธุ์พืชพระราชทาน
พันธุ์ข้าวพระราชทาน
จนในที่สุด ทรงพบวิธีการเลือกพันธุ์ข้าวและวิธีบำรุงรักษาที่ถูกต้อง หลังการเก็บเกี่ยวข้าวในแปลงนาสาธิตในสวนจิตรลดา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้นำไปพระราชทานเป็นข้าว พันธุ์ดีใช้ในพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ และพระราชทานเผยแพร่แก่เกษตรกรให้สามารถเพิ่มพูนผลผลิตและประกอบอาชีพเกษตรกรรมได้ผลดี ยิ่งกว่านั้นยังทรงตั้งโรงสีข้าวตัวอย่าง เพื่อศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการสีข้าวและดำเนินการในรูปแบบสหกรณ์ โดยพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เบื้องต้นจำนวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ในการจัดซื้อข้าวเปลือกในราคาเป็นธรรมเพื่อกักตุนในพุทธศักราช ๒๕๑๔
พุทธศักราช ๒๕๑๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระราชดำริให้จัดตั้งธนาคารข้าว เมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมชาวเขาในอำเภอจอมทองจังหวัดเชียงใหม่ ทรงเล็งเห็นว่าชาวบ้านขาดแคลนข้าว จึงได้พระราชทานข้าวเปลือกจำนวนหนึ่งแก่ผู้ใหญ่บ้านหลายหมู่บ้าน เพื่อเป็นทุนเริ่มดำเนินการธนาคารข้าวโดยมีการจัดทำบัญชียืมข้าวมาบริโภคในยามจำเป็นและคืนข้าวเมื่อสามารถเก็บเกี่ยวได้แล้ว พร้อมดอกเบี้ยเล็กน้อย เพื่อนำมาเป็นข้าวส่วนกองกลาง กิจการธนาคารข้าวยังเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาสร้างความสมานสามัคคีของชุมชนได้เป็นอย่างดี
พระมหากรุณาธิคุณในด้านกสิกรรมนี้ เอื้ออำนวยประโยชน์แก่กสิกรในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทยให้สามารถทำนาได้ปีละหลายครั้ง ได้ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นพร้อมทั้งน้อมนำพระราชดำริเป็นแนวทางในการดำเนินงาน โรงสีข้าวประจำชุมชน อันจะก่อให้เกิดประโยชน์แก่ส่วนรวม นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมอย่างหาที่สุดมิได้
โคนมพระราชทาน
พุทธศักราช ๒๕๐๔ ประเทศไทยได้เริ่มเปิดดำเนินกิจการฟาร์มโคนม สืบเนื่องจากรัฐบาลเดนมาร์กได้น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายโครงการส่งเสริมการเลี้ยงโคนมในประเทศไทย โดยจัดตั้งฟาร์มโคนมไทย - เดนมาร์ก ที่อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี และด้วยพระราชประสงค์เพื่อส่งเสริมอาชีพเลี้ยงโคนมแบบพื้นบ้านแก่เกษตรกรไทย พร้อมกับการส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชนชาวไทย และการสงวนเงินตราต่างประเทศในการสั่งซื้อผลิตภัณฑ์อาหารนมจากต่างประเทศ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงศึกษา ค้นคว้า วิชาการแผนใหม่เกี่ยวกับกิจการโคนม และทรงริเริ่มดำเนินโครงการโรงโคนมสวนจิตรลดาในพุทธศักราช ๒๕๐๕ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ปลูกหญ้าและพืชไว้เป็นอาหารเลี้ยงโค ซึ่งเป็นวิธีการเลี้ยงแบบประหยัดเหมาะสมกับเกษตรกรไทยในชนบท
- โครงการแบบไม่ใช่ธุรกิจ เป็นโครงการทดลองวิจัยเพื่อหาองค์ความรู้สำหรับนำมาพัฒนาด้านการเกษตร เช่น การเพาะพันธุ์ปลา การปลูกป่า นาข้าวทดลอง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ฯลฯ
- โครงการกึ่งธุรกิจ เป็นโครงการทดลองแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรเพื่อจำหน่ายและนำผลกำไรมาขยายงาน เป็นต้นแบบของการประกอบกิจการขนาดเล็ก มีการจัดการบริหารเป็นระบบ มีรายรับรายจ่ายชัดเจน ซึ่งมี ๒ กลุ่มด้วยกัน ประกอบด้วย กลุ่มอุตสาหกรรมนม และกลุ่มผลิตภัณฑ์เกษตรและเกษตรต่อเนื่อง
ตาราง โครงการศึกษาวิจัยในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา จำแนกตามประเภท
พุทธศักราช | โครงการแบบไม่ใช่ธุรกิจ | โครงการกึ่งธุรกิจ |
๒๕๐๓ | ป่าไม้สาธิต | - |
๒๕๐๔ | นาข้าวทดลอง | - |
๒๕๐๕ | - | โรงโคนมสวนจิตรลดา |
๒๕๐๖ | ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ | - |
๒๕๐๘ | ปลานิล | - |
๒๕๐๑๒ | - | โรงนมผงสวนดุสิต ศูนย์รวมนมสวนจิตรลดา |
๒๕๐๑๔ | - | โรงสีข้าวตัวอย่างสวนจิตรลดา |
๒๕๐๒๑ | การผลิตแก๊สชีวภาพ | - |
๒๕๐๒๗ | - | โรงนมเม็ดสวนดุสิต |
๒๕๒๘ | ห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อโครงการบำบัดน้ำเสีย | - |
๒๕๒๙ | โครงการสาหร่ายเกลียวทอง | โรงกลั่นแอลกอฮอล์ |
๒๕๓๐ | - | โรงบดแกลบ โรงเนยแข็ง |
๒๕๓๑ | - | โรงเพาะเห็ด |
๒๕๓๔ | - | โรงกระดาษสาเฉลิมพระเกียรติ |
๒๕๓๕ | - | โรงน้ำผลไม้บรรจุกระป๋อง |
ที่มา: สารานุกรมโครงการพระราชดำริ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พุทธศักราช ๒๕๔๗
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม