ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มูลนิธิอานันทมหิดล"

 
(ไม่แสดง 7 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
<div id="bg_g3t">&nbsp;</div>
+
<div id="bg_g1t">&nbsp;</div>
<div id="bg_g3">
+
<div id="bg_g1">
 +
<h1>ทรงสร้างบุคลากรทางการแพทย์</h1>
  
<center><h3>มูลนิธิอานันทมหิดล</h3></center>
+
<div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพบว่าการขาดบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข เป็นสาเหตุประการหนึ่งที่ทำให้กิจการสาธารณสุขของประเทศไทยยังไม่สามารถพัฒนาได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ จึงได้พระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์และพระบรมราชูปถัมภ์ต่างๆ เพื่อผลิตบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น
[[ภาพ:หน่วยแพทย์เคลื่อนที่3.jpg|150px|left]]<div class="kindent" style="color:white">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงให้ความสำคัญกับการสาธารณสุขในระยะยาวด้วย โดยทรงสนับสนุนด้านการศึกษาค้นคว้า และการวิจัย ทั้งทรงให้ความสำคัญกับบุคลากรด้านสาธารณสุข และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง "ทุนอานันทมหิดล" ขึ้นเมื่อปี ๒๔๙๘
 
  
ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนเป็น<span style="color:darkblue">'''มูลนิธิอานันทมหิดล'''</span> เพื่อการพิจารณาคัดเลือกบัณฑิตแพทย์ที่มีผลการเรียนยอดเยี่ยม และมีคุณธรรมไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในต่างประเทศ ปัจจุบันมูลนิธิอานันทมหิดลได้ขยายการให้การสนับสนุนการศึกษาในระดับสูงครอบคลุม ๘ สาขาวิชา ในจำนวนดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข ๒ สาขา คือ แผนกแพทยศาสตร์ และแผนกทันตแพทยศาสตร์</div>
+
พุทธศักราช ๒๔๙๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานทุนอานันทมหิดลแก่บัณฑิตแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อไปศึกษาวิชาการแพทย์ในระดับที่สูงขึ้นในต่างประเทศ ซึ่งผู้ที่ได้รับพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณนี้ได้กลับมาบำเพ็ญประโยชน์ต่อวงการแพทย์และวงการอื่นๆ ของไทยเป็นอันมากสมดังพระราชประสงค์
  
<div style="clear:both"></div>
+
นอกจากนี้ ยังทรงส่งเสริมด้านการศึกษาวิชาการแพทย์ในมหาวิทยาลัย โดยทรงให้จัดตั้งคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในพุทธศักราช ๒๕๐๑ เพื่อผลิตแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศ จนทำให้เกิดการจัดตั้งคณะแพทย์ขึ้นในมหาวิทยาลัยต่างๆ ตามมาอีกหลายสถาบันด้วยกัน
ผู้มีจิตศรัทธาบริจาคสมทบทุนโดยเสด็จพระราชกุศลได้เป็นรายบุคคลหรือเป็นคณะ  
+
 
<center>โดยเสด็จพระราชกุศล สมทบทุนมูลนิธิอานันทมหิดล ได้ที่สำนักงานพระคลังข้างที่ ในพระบรมมหาราชวัง
+
นอกจากการสร้างบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขผ่านระบบการศึกษาแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังมีพระราชดำริให้จัดฝึกอบรมความรู้ด้านสาธารณสุขมูลฐาน และการรักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่ตัวแทนราษฎรในถิ่นที่อยู่ห่างไกลซึ่งขาดแคลนทั้งแพทย์และพยาบาล ผ่านโครงการหมอหมู่บ้าน ในพุทธศักราช ๒๕๒๔ เพื่อให้สามารถช่วยเหลือดูแลชาวบ้านในท้องถิ่นของตนเองได้ โดยจัดอบรมขึ้นเป็นครั้งแรกที่โรงพยาบาลค่ายกาวิละ จังหวัดเชียงใหม่ ผู้จบหลักสูตรการอบรมจะเดินทางกลับคืนสู่หมู่บ้านพร้อมด้วยกระเป๋ายาและเวชภัณฑ์ที่จำเป็นเบื้องต้น เมื่อมีปัญหายาและเวชภัณฑ์หมดหรือต้องส่งต่อผู้ป่วยไปเข้ารับการรักษา ก็สามารถติดต่อกับแพทย์ประจำจังหวัดหรือหน่วยแพทย์หลวงตามหลักการที่ได้อบรมไว้
 +
</div>
 +
<center>
 +
<div style="display:table; width:90%; border: thin solid red">
 +
<div style="display:table; width:95%; margin-left:3%">
 +
ความรู้ที่จำเป็นสำหรับหมอหมู่บ้าน ได้แก่ การรักษาพยาบาลเบื้องต้น การช่วยเหลือทำคลอดและทำคลอดตามปกติ การช่วยผู้ป่วยจากอุบัติเหตุ ความรู้ทางโภชนาการพื้นฐาน การใช้อาหารเสริมที่มีในท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่พบในท้องถิ่นนั้นๆ การจ่ายยาสามัญประจำบ้านเพื่อรักษาโรคง่ายๆ การจัดการรับและส่งต่อผู้ป่วยในหมู่บ้านที่ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล รวมทั้งการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการสาธารณสุขมูลฐานหรือการดำรงชีวิตและรักษาตนให้ปราศจากโรค
 +
</div>
 +
</div></center>
 +
 
 +
<div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพบว่าราษฎรของพระองค์ขาดแคลนปัจจัยด้านสุขอนามัยตั้งแต่ระดับพื้นฐาน อันเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาประชาชนและประเทศชาติ จึงทรงให้ความสำคัญกับการผลิตแพทย์และนักสาธารณสุขศาสตร์ ด้วยการก่อตั้งทุนอานันทมหิดลในพุทธศักราช ๒๔๙๘ ด้วยทุนพระราชทานเริ่มแรกจำนวน ๒๐,๐๐๐ บาทเพื่อเป็นการรำลึกถึงสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และได้พระราชทานทุนอานันทมหิดลแก่บัณฑิตสาขาแพทยศาสตร์ที่มีผลการเรียนดีเยี่ยม ให้ได้มีโอกาสเดินทางไปศึกษาหาความรู้ขั้นสูงเพิ่มเติมในต่างประเทศ ต่อมาได้มีการจดทะเบียนเป็น<span style="color:darkblue">'''มูลนิธิอานันทมหิดล'''</span> เมื่อวันที่ ๓ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๐๒ และมีการขยายสาขาวิชาที่พระราชทานทุนเพิ่มออกไปเป็นสาขาวิทยาศาสตร์ เกษตรศาสตร์ อักษรศาสตร์ นิติศาสตร์ และโบราณคดี นับได้ว่าเป็นพระราชกรณียกิจที่สำคัญยิ่งของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการส่งเสริมการศึกษาขั้นสูง สามารถผลิตทรัพยากรบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ให้กลับมาพัฒนาประเทศต่อไป โดยเงินทุนของมูลนิธิอานันทมหิดลที่พระราชทานเพื่อสนับสนุนการศึกษา วิจัย ฝึกอบรม นับตั้งแต่พุทธศักราช ๒๕๐๒ - ๒๕๔๘ เป็นจำนวน ๖๗๕,๙๕๕,๖๖๐.๑๘ บาท และมีผู้รับพระราชทานทุนที่สำเร็จการศึกษาจนถึงพุทธศักราช ๒๕๔๙ จำนวน ๒๕๙ คน
 +
 
 +
ปัจจุบันมูลนิธิอานันทมหิดลได้ขยายการให้การสนับสนุนการศึกษาในระดับสูงครอบคลุม ๘ สาขาวิชา ในจำนวนดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข ๒ สาขา คือ แผนกแพทยศาสตร์ และแผนกทันตแพทยศาสตร์
 +
</div>
 +
 
 +
ผู้มีจิตศรัทธาบริจาคสมทบทุนโดยเสด็จพระราชกุศลได้เป็นรายบุคคลหรือเป็นคณะ โดยเสด็จพระราชกุศล สมทบทุนมูลนิธิอานันทมหิดล ได้ที่
 +
<center>สำนักงานพระคลังข้างที่ ในพระบรมมหาราชวัง
  
 
โทรศัพท์ 222-0859, 224-3288 โทรสาร 226-2909, 224-9858
 
โทรศัพท์ 222-0859, 224-3288 โทรสาร 226-2909, 224-9858
แถว 20: แถว 35:
  
  
มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล - http://www.princemahidolaward.org/about.th.php
+
{{ดูเพิ่มเติม| มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล - http://www.princemahidolaward.org/about.th.php}}
  
  
 +
</div>
  
  
<div style="clear:both"></div>
+
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]][[หมวดหมู่:การแพทย์และสาธารณสุข]][[หมวดหมู่:ทุน-มูลนิธิ-การศึกษา]]
----
 
 
 
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.2}}
 
 
 
 
 
{{ดูเพิ่มเติม}}
 
 
 
 
 
</div>
 
 
 
[[หมวดหมู่:ทุน-มูลนิธิ-การศึกษา]]
 

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:15, 2 ตุลาคม 2552

 

ทรงสร้างบุคลากรทางการแพทย์

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพบว่าการขาดบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข เป็นสาเหตุประการหนึ่งที่ทำให้กิจการสาธารณสุขของประเทศไทยยังไม่สามารถพัฒนาได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ จึงได้พระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์และพระบรมราชูปถัมภ์ต่างๆ เพื่อผลิตบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น

พุทธศักราช ๒๔๙๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานทุนอานันทมหิดลแก่บัณฑิตแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อไปศึกษาวิชาการแพทย์ในระดับที่สูงขึ้นในต่างประเทศ ซึ่งผู้ที่ได้รับพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณนี้ได้กลับมาบำเพ็ญประโยชน์ต่อวงการแพทย์และวงการอื่นๆ ของไทยเป็นอันมากสมดังพระราชประสงค์

นอกจากนี้ ยังทรงส่งเสริมด้านการศึกษาวิชาการแพทย์ในมหาวิทยาลัย โดยทรงให้จัดตั้งคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในพุทธศักราช ๒๕๐๑ เพื่อผลิตแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศ จนทำให้เกิดการจัดตั้งคณะแพทย์ขึ้นในมหาวิทยาลัยต่างๆ ตามมาอีกหลายสถาบันด้วยกัน

นอกจากการสร้างบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขผ่านระบบการศึกษาแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังมีพระราชดำริให้จัดฝึกอบรมความรู้ด้านสาธารณสุขมูลฐาน และการรักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่ตัวแทนราษฎรในถิ่นที่อยู่ห่างไกลซึ่งขาดแคลนทั้งแพทย์และพยาบาล ผ่านโครงการหมอหมู่บ้าน ในพุทธศักราช ๒๕๒๔ เพื่อให้สามารถช่วยเหลือดูแลชาวบ้านในท้องถิ่นของตนเองได้ โดยจัดอบรมขึ้นเป็นครั้งแรกที่โรงพยาบาลค่ายกาวิละ จังหวัดเชียงใหม่ ผู้จบหลักสูตรการอบรมจะเดินทางกลับคืนสู่หมู่บ้านพร้อมด้วยกระเป๋ายาและเวชภัณฑ์ที่จำเป็นเบื้องต้น เมื่อมีปัญหายาและเวชภัณฑ์หมดหรือต้องส่งต่อผู้ป่วยไปเข้ารับการรักษา ก็สามารถติดต่อกับแพทย์ประจำจังหวัดหรือหน่วยแพทย์หลวงตามหลักการที่ได้อบรมไว้

ความรู้ที่จำเป็นสำหรับหมอหมู่บ้าน ได้แก่ การรักษาพยาบาลเบื้องต้น การช่วยเหลือทำคลอดและทำคลอดตามปกติ การช่วยผู้ป่วยจากอุบัติเหตุ ความรู้ทางโภชนาการพื้นฐาน การใช้อาหารเสริมที่มีในท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่พบในท้องถิ่นนั้นๆ การจ่ายยาสามัญประจำบ้านเพื่อรักษาโรคง่ายๆ การจัดการรับและส่งต่อผู้ป่วยในหมู่บ้านที่ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล รวมทั้งการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการสาธารณสุขมูลฐานหรือการดำรงชีวิตและรักษาตนให้ปราศจากโรค

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพบว่าราษฎรของพระองค์ขาดแคลนปัจจัยด้านสุขอนามัยตั้งแต่ระดับพื้นฐาน อันเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาประชาชนและประเทศชาติ จึงทรงให้ความสำคัญกับการผลิตแพทย์และนักสาธารณสุขศาสตร์ ด้วยการก่อตั้งทุนอานันทมหิดลในพุทธศักราช ๒๔๙๘ ด้วยทุนพระราชทานเริ่มแรกจำนวน ๒๐,๐๐๐ บาทเพื่อเป็นการรำลึกถึงสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และได้พระราชทานทุนอานันทมหิดลแก่บัณฑิตสาขาแพทยศาสตร์ที่มีผลการเรียนดีเยี่ยม ให้ได้มีโอกาสเดินทางไปศึกษาหาความรู้ขั้นสูงเพิ่มเติมในต่างประเทศ ต่อมาได้มีการจดทะเบียนเป็นมูลนิธิอานันทมหิดล เมื่อวันที่ ๓ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๐๒ และมีการขยายสาขาวิชาที่พระราชทานทุนเพิ่มออกไปเป็นสาขาวิทยาศาสตร์ เกษตรศาสตร์ อักษรศาสตร์ นิติศาสตร์ และโบราณคดี นับได้ว่าเป็นพระราชกรณียกิจที่สำคัญยิ่งของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการส่งเสริมการศึกษาขั้นสูง สามารถผลิตทรัพยากรบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ให้กลับมาพัฒนาประเทศต่อไป โดยเงินทุนของมูลนิธิอานันทมหิดลที่พระราชทานเพื่อสนับสนุนการศึกษา วิจัย ฝึกอบรม นับตั้งแต่พุทธศักราช ๒๕๐๒ - ๒๕๔๘ เป็นจำนวน ๖๗๕,๙๕๕,๖๖๐.๑๘ บาท และมีผู้รับพระราชทานทุนที่สำเร็จการศึกษาจนถึงพุทธศักราช ๒๕๔๙ จำนวน ๒๕๙ คน

ปัจจุบันมูลนิธิอานันทมหิดลได้ขยายการให้การสนับสนุนการศึกษาในระดับสูงครอบคลุม ๘ สาขาวิชา ในจำนวนดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข ๒ สาขา คือ แผนกแพทยศาสตร์ และแผนกทันตแพทยศาสตร์

ผู้มีจิตศรัทธาบริจาคสมทบทุนโดยเสด็จพระราชกุศลได้เป็นรายบุคคลหรือเป็นคณะ โดยเสด็จพระราชกุศล สมทบทุนมูลนิธิอานันทมหิดล ได้ที่

สำนักงานพระคลังข้างที่ ในพระบรมมหาราชวัง

โทรศัพท์ 222-0859, 224-3288 โทรสาร 226-2909, 224-9858

รายละเอียดเกี่ยวกับการพระราชทานทุน และการดำเนินงานของมูลนิธิฯ สอบถามได้ที่

สำนักงานประสานงานของมูลนิธิอานันทมหิดล ตั้งอยู่ที่ สำนักงานเลขาธิการองคมนตรี ศาลาลูกขุนใน พระบรมมหาราชวัง

โทรศัพท์ 623-5833-4 โทรสาร 623-5835


ดูเพิ่มเติม มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล - http://www.princemahidolaward.org/about.th.php