ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบำบัดน้ำเสียด้วยระบบพืชกรองน้ำเสีย"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) (→การบำรุงรักษา) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | <center><h3>'''คู่มือ | + | <div id="bg_g2t"> </div> |
+ | <div id="bg_g2"><center><h3>'''คู่มือ | ||
เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียตามแนวพระราชดำริ | เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียตามแนวพระราชดำริ | ||
แถว 185: | แถว 186: | ||
</div> | </div> | ||
− | + | </div> | |
− | [[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]][[หมวดหมู่:การแก้ไขปัญหาน้ำเสีย]] | + | [[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]][[หมวดหมู่:แนวพระราชดำริ]][[หมวดหมู่:การแก้ไขปัญหาน้ำเสีย]][[หมวดหมู่:โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:33, 5 ตุลาคม 2552
เนื้อหา
- 1 คู่มือ เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียตามแนวพระราชดำริ การบำบัดน้ำเสียด้วยระบบพืชกรองน้ำเสีย
- 2 หลักการและเหตุผล
- 3 วัตถุประสงค์
- 4 ลักษณะเทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยหญ้ากรองน้ำเสีย
- 5 วัสดุอุปกรณ์
- 6 การก่อสร้างระบบหญ้ากรองน้ำเสีย
- 7 การปลูกพืช
- 8 การดำเนินการบำบัดน้ำเสีย
- 9 การบำรุงรักษา
- 10 ระยะเวลาการใช้งานระบบหญ้ากรองน้ำเสีย
- 11 ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างระบบหญ้ากรองน้ำเสีย
- 12 ความเหมาะสมในการใช้เทคโนโลยี
- 13 การนำไปใช้ประโยชน์
- 14 ติดต่อคณะวิจัย
คู่มือ เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียตามแนวพระราชดำริ การบำบัดน้ำเสียด้วยระบบพืชกรองน้ำเสีย
หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์
2) เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านน้ำเสียชุมชน ด้วยเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยการใช้ระบบพืชกรองน้ำเสีย
3) เพื่อพัฒนารูปแบบเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบพืชกรองน้ำเสีย ให้สามารถนำไปปฏิบัติโดยประหยัดค่าใช้จ่าย และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
ลักษณะเทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยหญ้ากรองน้ำเสีย
วัสดุอุปกรณ์
- บ่อคอนกรีตขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 1 เมตร ลึก 1.00 เมตร
- บ่อดินขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 50 เมตร ลึก 1.10 เมตร
- ทรายหยาบ จำนวน 50 ลูกบาศก์เมตร
- ดินผสมทราย ในสัดส่วน ดิน 3 ส่วน ทราย 1 ส่วน จำนวน 125 ลูกบาศก์เมตร
- ต้นกล้าหญ้าอาหารสัตว์ จำนวน 1,250 ต้น
- กรวดขนาด 1-2 นิ้ว จำนวน 1/4 ลูกบาศก์เมตร
- ท่อ PVC เส้นผ่านศูนย์กลาง 6 นิ้ว ยาว 3 เมตร
การก่อสร้างระบบหญ้ากรองน้ำเสีย
ขั้นที่ 1 การสร้างบ่อดักตะกอน
ขั้นที่ 2 การก่อสร้างแปลงพืชกรองน้ำเสีย
2) ใส่ทรายหยาบรองพื้นในแปลงเกลี่ยให้สม่ำเสมอทั่วทั้งแปลงและอัดให้แน่นหนา 20 เซนติเมตร (ภาพที่ 1 และ 4)
3) จากนั้นใส่ดินผสมทรายที่เตรียมไว้ในสัดส่วน ดิน 3 ส่วน ทราย 1 ส่วน และผสมให้เข้ากันลงในแปลงเกลี่ยให้มีความสม่ำเสมอ และให้มีความสูงจากท้องแปลง 50 เซนติเมตร มีลักษณะเหมือนกับภาพประกอบ
ขั้นที่ 3 การเตรียมต้นพันธุ์และการปลูกพืช
การจัดเตรียมท่อนพันธุ์พืชที่จะใช้ปลูกในแปลงระบบพืชกรองน้ำเสียดำเนินการไปพร้อมกับการก่อสร้างระบบฯ ซึ่งแหล่งของท่อนพันธุ์พืชจำพวกธูปฤๅษีสามารถหาได้จากพื้นที่ชุ่มน้ำธรรมชาติทั่วไป เช่น พื้นที่ที่มีการขุดดินออกและปล่อยให้รกร้างมีน้ำท่วมขัง คูระบายน้ำข้างถนนและหน้องน้ำเป็นต้น ซึ่งในการจัดเตรียมท่อนพันธุ์พืชนั้น สามารถกระทำได้เป็นลำดับดังนี้
1) เตรียมพื้นที่สำหรับการเพาะชำและอนุบาลท่อนพันธุ์พืช ซึ่งอาจใช้แปลงขนาดเล็กๆ หรือใช้ถุงพลาสติกสีดำขนาด 8 นิ้ว พร้อมทั้งใส่ดินที่ค่อนข้างเหลวลงไป
2) ถอนหรือขุดต้นพืชที่จะใช้ชำท่อนพันธุ์จากแหล่งพันธุ์ที่จัดหาไว้
3) ตัดแต่งต้นและรากต้นพันธุ์ที่สมบูรณ์ให้มีความยาวประมาณ 1 ฟุต (ภาพที่ 7)
4) นำไปปักชำลงในแปลงหรือถุงเพาะชำที่จัดเตรียมไว้
5) ดูแลรักษาด้วยการให้น้ำเสียเป็นเวลา 3 สัปดาห์ เพื่อให้ต้นพืชปรับสภาพตนเองก่อนการนำไปปลูก
การปลูกพืช
1) เติมน้ำใส่แปลงเพื่อให้เนื้อดินในแปลงเกิดความชุ่มชื้นและนิ่มจะได้ปลูกหญ้าและพืชได้สะดวก
2) ทำการปลูกหญ้าและพืชที่เตรียมไว้ลงแปลง โดยให้มีระยะห่างระหว่างแถวและต้น เท่ากับ 50 เซนติเมตร ดังภาพที่ 8
3) ดูแลหรืออนุบาลด้วยการใช้น้ำเสียเพื่อให้หญ้าที่ปลูกไว้ปรับตัว 1 สัปดาห์ ก่อนการบำบัดน้ำเสีย
การดำเนินการบำบัดน้ำเสีย
การบำรุงรักษา
ระยะเวลาการใช้งานระบบหญ้ากรองน้ำเสีย
ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างระบบหญ้ากรองน้ำเสีย
1) ค่าก่อสร้างบ่อคอนกรีตขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 1.00 เมตร ลึก 1.00 เมตร เป็นเงิน 5,000 บาท
2) ค่าก่อสร้างบ่อดินขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 50 เมตร ลึก 1.10 เมตร เป็นเงิน 40,000 บาท
3) ทรายหยาบ จำนวน 50 ลูกบาศก์เมตร เป็นเงิน 12,500 บาท
4) ดินผสมทราย ในสัดส่วน 3:1 จำนวน 125 ลูกบาศก์เมตร เป็นเงิน 27,000 บาท
5) ต้นกล้าพันธุ์หญ้า จำนวน 1,250 ต้น เป็นเงิน 2,500 บาท
6) กรวดขนาด 1-2 นิ้ว จำนวน 1/4 ลูกบาศก์เมตร เป็นเงิน 300 บาท
7) ท่อ PVC เส้นผ่านศูนย์กลาง 6 นิ้ว ยาว 3.00 เมตร เป็นเงิน 550 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 87,850 บาท
ความเหมาะสมในการใช้เทคโนโลยี
การนำไปใช้ประโยชน์
- ลำต้นนำไปใช้ในการทำเครื่องจักสานต่างๆ เช่น เสื่อ หมวก และกระเป๋าเป็นต้น
- ดอกและผล นำไปใช้ทำเยื่อกระดาษได้
2) ธูปฤๅษี ที่ทำการตัดออกเมื่ออายุครบ 90 วัน สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ดังนี้
- ลำต้น นำไปใช้ทำเยื่อกระดาษ หรือ บดอัดทำเชื้อเพลิงเขียว
- ดอก นำไปใช้ทำดอกไม้ประดิษฐ์
- ปุยของดอกแก่ นำไปใช้ในการกรองไขมัน
3) หญ้าแฝก สามารถนำไปทำเครื่องจักสานต่างๆ ได้ ดังภาพที่ 11
ติดต่อคณะวิจัย
โครงการฯ วิทยาลัยสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทรศัพท์ 0-2561-4754, 0-2942-8727 และ 0-2579-2116
โครงการฯ ตำบลแหลมผักเบี้ย อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี โทรศัพท์ 0-3244-1264 และ 0-3244-1265
ได้ในเวลาราชการ