ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลักการทรงงาน"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 8 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
+ | <div id="bg_g7"> | ||
__NOTOC__ | __NOTOC__ | ||
<center><h1>หลักการทรงงาน<br>ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว</h1></center> | <center><h1>หลักการทรงงาน<br>ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว</h1></center> | ||
− | + | <div class="kindent">ด้วยพระเมตตาและพระมหากรุณาธิคุณเหนือเกล้าเหนือกระหม่อม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานความช่วยเหลือเพื่อบำบัดทุกข์บำรุงสุขของพสกนิกรบังเกิดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริหลายพันโครงการทั่วประเทศ เริ่มจากการเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรปัญหาของราษฎรด้วยพระองค์เอง จึงทรงทราบถึงมูลเหตุแห่งปัญหาอย่างถ่องแท้ จากนั้นจึงมีพระบรมราชวินิจฉัยพระราชทานแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อรับไปดำเนินการ ไม่ว่าจะเป็นโครงการด้านเกษตรกรรม การแพทย์และสาธารณสุข การคมนาคม หรือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ล้วนตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักการทรงงานอันประเสริฐ ดังนี้</div> | |
=== === | === === | ||
[[ภาพ:หลักการทรงงาน01.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน01.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>''' | + | <h3>'''๑ ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ'''</h3> |
− | |||
− | |||
+ | <div class="kindent">"ทำงานอย่างผู้รู้จริง" ให้ศึกษางานที่จะทำให้ดี อย่าผลีผลาม ความรู้จะหยุดนิ่งไม่ได้ ต้องขวนขวาย ต้องเก็บบันทึกไว้ แล้วนำกลับมาใช้ประโยชน์ "ความรู้" ต้องพัฒนาอยู่เรื่อยๆ ต้องรู้หมดและรู้อย่างแท้จริง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทำให้ดูเป็นตัวอย่าง เช่น การที่จะพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่งจะทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างรอบคอบและครบถ้วน ทั้งจากข้อมูลเบื้องต้น จากเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าที่ นักวิชาการ และประชาชนในพื้นที่ เพื่อให้ได้รายละเอียดที่ถูกต้องและตรงกับความเป็นจริง เพื่อที่พระองค์จะได้พระราชทานความช่วยเหลือได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วตรงตามที่ประชาชนต้องการ ซึ่งนั่นก็คือ ไม่ว่าเราจะทำอะไรต้องรู้จริง ศึกษาให้เข้าใจ แล้วจึงลงมือปฏิบัติ | ||
+ | </div> | ||
[[ภาพ:หลักการทรงงาน02.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน02.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>'''ระเบิดจากข้างใน'''</h3> | + | <h3>'''๒ ระเบิดจากข้างใน'''</h3> |
− | คือการทำสิ่งใดต้องสร้างฐาน ต้องเริ่มจากความพร้อม ความเห็นพ้องต้องกันในกลุ่มเล็กๆ ก่อน แล้วค่อยๆ ก่อ จะมั่นคงถาวร พระองค์ทรงมุ่งเน้นเรื่องการพัฒนาคน ทรงมีพระราชกระแสรับสั่งว่า "ต้องระเบิดจากข้างใน" นั้นหมายความว่า ต้องสร้างความเข้มแข็งให้คนในชุมชนที่เราเข้าไปพัฒนา ให้มีสภาพพร้อมที่จะรับการพัฒนาเสียก่อน แล้วจึงค่อยออกมาสู่สังคมภายนอก มิใช่การนำเอาความเจริญหรือบุคคลจากสังคมภายนอกเข้าไปหาชุมชน หมู่บ้าน ที่ยังไม่มีโอกาสเตรียมตัวหรือตั้งตัว | + | <div class="kindent">คือการทำสิ่งใดต้องสร้างฐาน ต้องเริ่มจากความพร้อม ความเห็นพ้องต้องกันในกลุ่มเล็กๆ ก่อน แล้วค่อยๆ ก่อ จะมั่นคงถาวร พระองค์ทรงมุ่งเน้นเรื่องการพัฒนาคน ทรงมีพระราชกระแสรับสั่งว่า "ต้องระเบิดจากข้างใน" นั้นหมายความว่า ต้องสร้างความเข้มแข็งให้คนในชุมชนที่เราเข้าไปพัฒนา ให้มีสภาพพร้อมที่จะรับการพัฒนาเสียก่อน แล้วจึงค่อยออกมาสู่สังคมภายนอก มิใช่การนำเอาความเจริญหรือบุคคลจากสังคมภายนอกเข้าไปหาชุมชน หมู่บ้าน ที่ยังไม่มีโอกาสเตรียมตัวหรือตั้งตัว</div> |
[[ภาพ:หลักการทรงงาน03.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน03.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>'''อดทน มุ่งมั่น'''</h3> | + | <h3>'''๓ อดทน มุ่งมั่น'''</h3> |
− | ให้รู้จักอดทน ทำจนเป็นนิสัย ไม่ว่าสิ่งดีๆ ที่เข้ามา ทุกข์ที่เข้ามา สุขที่เข้ามา เราก็รับด้วยใจสงบ ไม่ตื่นเต้นหรือกังวลกับสิ่งที่เกิดขึ้นกับตัวเรา เหมือนดังคำว่า "ธรรมะ" ซึ่งนั่นก็คือ ธรรมชาติ ธรรมดา นอกจากนี้ หากเกิดปัญหา เราก็ทำจิตใจให้รู้สึกท้าทายกับปัญหานั้น เห็นปัญหาแล้วกระโดดเข้าใส่เป็นการท้าทายสติปัญญา อย่ากลัวปัญหาและละลายปัญหาจากเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย | + | <div class="kindent">ให้รู้จักอดทน ทำจนเป็นนิสัย ไม่ว่าสิ่งดีๆ ที่เข้ามา ทุกข์ที่เข้ามา สุขที่เข้ามา เราก็รับด้วยใจสงบ ไม่ตื่นเต้นหรือกังวลกับสิ่งที่เกิดขึ้นกับตัวเรา เหมือนดังคำว่า "ธรรมะ" ซึ่งนั่นก็คือ ธรรมชาติ ธรรมดา นอกจากนี้ หากเกิดปัญหา เราก็ทำจิตใจให้รู้สึกท้าทายกับปัญหานั้น เห็นปัญหาแล้วกระโดดเข้าใส่เป็นการท้าทายสติปัญญา อย่ากลัวปัญหาและละลายปัญหาจากเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย</div> |
[[ภาพ:หลักการทรงงาน04.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน04.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>''' | + | <h3>'''[[ภูมิสังคมกับการพัฒนา|๔ ภูมิสังคม]]'''</h3> |
+ | <div class="kindent">การพัฒนาใดๆ ต้องสอดคล้องกับปัญหาที่เกิดขึ้นในภูมิภาคนั้นๆ เนื่องจากแต่ละแห่งคนไม่เหมือนกัน ต้องคำนึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยาเกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจคอของคน ตลอดจนวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีก็ไม่เหมือนกัน ทรงใช้คำว่า "ภูมิสังคม" คือ ทรงดูลักษณะภูมิศาสตร์และลักษณะของสังคม ดังพระราชดำรัสตอนหนึ่งความว่า | ||
+ | |||
+ | "...การพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์ และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ ในสังคมวิทยา ภูมิประเทศตามสังคมวิทยาคือ นิสัยใจคอของคนเรา จะไปบังคับให้คนคิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะนำ เราเข้าไปช่วย โดยที่จะคิดให้เขาเข้ากับเราไม่ได้ แต่ถ้าเราเข้าไปแล้ว เราเข้าไปดูว่าเขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนานี้ ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง..."</div> | ||
+ | |||
+ | [[ภาพ:หลักการทรงงาน16.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญ เช่น นาฬิกาข้อพระกรที่พระองค์ทรงใช้ ไม่จำเป็นต้องราคาแพง แต่ทรงเน้นที่ประโยชน์ของการบอกเวลา ทรงอ่อนน้อมถ่อมพระองค์มาก เวลาที่เสด็จฯ เยี่ยมราษฎร ทรงโน้มพระวรกาย คุกเข่า และประทับพับเพียบเข้าหาประชาชน | + | <h3>'''๕ อ่อนน้อม ถ่อมตน เรียบง่ายและประหยัด'''</h3> |
− | ในการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎรทรงใช้หลักในการแก้ไขปัญหาด้วยธรรมชาติ เรียบง่ายและประหยัด ราษฎรสามารถทำได้เอง หาได้ในท้องถิ่น และประยุกต์ใช้สิ่งที่มีอยู่ในภูมิภาคนั้นมาแก้ไขปัญหาโดยไม่ต้องลงทุนสูง หรือใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากนัก | + | |
+ | <div class="kindent">ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญ เช่น นาฬิกาข้อพระกรที่พระองค์ทรงใช้ ไม่จำเป็นต้องราคาแพง แต่ทรงเน้นที่ประโยชน์ของการบอกเวลา ทรงอ่อนน้อมถ่อมพระองค์มาก เวลาที่เสด็จฯ เยี่ยมราษฎร ทรงโน้มพระวรกาย คุกเข่า และประทับพับเพียบเข้าหาประชาชน | ||
+ | ในการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎรทรงใช้หลักในการแก้ไขปัญหาด้วยธรรมชาติ เรียบง่ายและประหยัด ราษฎรสามารถทำได้เอง หาได้ในท้องถิ่น และประยุกต์ใช้สิ่งที่มีอยู่ในภูมิภาคนั้นมาแก้ไขปัญหาโดยไม่ต้องลงทุนสูง หรือใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากนัก</div> | ||
[[ภาพ:หลักการทรงงาน05.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน05.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>'''ซื่อสัตย์ สุจริต กตัญญู'''</h3> | + | <h3>'''๖ ซื่อสัตย์ สุจริต กตัญญู'''</h3> |
− | พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงกตัญญูต่อสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบรมวงศ์มาก ทรงให้ความสำคัญในเรื่องความซื่อสัตย์มาก ดังพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า | + | <div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงกตัญญูต่อสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบรมวงศ์มาก ทรงให้ความสำคัญในเรื่องความซื่อสัตย์มาก ดังพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า |
− | "...ถ้าทุจริตแม้แต่นิดเดียว ก็ขอแช่งให้มีอันเป็นไป พูดอย่างนี้หยาบคาย แต่ว่าต้องให้มีอันเป็นไป แต่ถ้าไม่ทุจริต สจริตและมีความตั้งใจมุ่งมั่น สร้างความเจริญ ก็ขอต่ออายุให้ถึง ๑๐๐ ปี ...ความสุจริตจะทำให้ประเทศไทยรอดพ้นอันตราย ภายใน ๑๐ ปี เมืองไทยน่าจะเจริญ ข้อสำคัญต้องยึดความสุจริตให้สำเร็จ และไม่ทุจริตเสียเอง.... | + | "...ถ้าทุจริตแม้แต่นิดเดียว ก็ขอแช่งให้มีอันเป็นไป พูดอย่างนี้หยาบคาย แต่ว่าต้องให้มีอันเป็นไป แต่ถ้าไม่ทุจริต สจริตและมีความตั้งใจมุ่งมั่น สร้างความเจริญ ก็ขอต่ออายุให้ถึง ๑๐๐ ปี ...ความสุจริตจะทำให้ประเทศไทยรอดพ้นอันตราย ภายใน ๑๐ ปี เมืองไทยน่าจะเจริญ ข้อสำคัญต้องยึดความสุจริตให้สำเร็จ และไม่ทุจริตเสียเอง....</div> |
=== === | === === | ||
[[ภาพ:หลักการทรงงาน06.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน06.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>'''รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและเคารพความคิดที่แตกต่าง'''</h3> | + | <h3>'''๗ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและเคารพความคิดที่แตกต่าง'''</h3> |
− | ในทุกครั้งที่เสด็จฯ ไปในพื้นที่ต่างๆ ทรงทำประชาพิจารณ์ (Public Hearing) ทุกครั้ง โดยวิธีการของพระองค์นั้นเป็นวิธีที่เรียบง่ายและตรงไปตรงมา โดยจะทรงอธิบายถึงวัตถุประสงค์และผลที่ได้รับจากโครงการพัฒนากับพสกนิกรที่มาเฝ้าฯ ล้อมรอบอยู่ หลังจากนั้นจะทรงถามถึงความต้องการของประชาชน ความสมัครใจและให้ตกลงกันเองในกลุ่มที่จะได้รับประโยชน์และกลุ่มที่จะต้องเสียสละในขณะนั้นเลย พร้อมทั้งทรงการแผนที่เพื่อตรวจสอบถึงข้อมูลและข้อเท็จจริงของสภาพภูมิประเทศ และหลังจากนั้นก็จะทรงเรียกผู้นำท้องถิ่นและฝ่ายปกครองให้มารับทราบและดำเนินการในขั้นต้น ก่อนที่จะพระราชทานให้หน่วยงานปฏิบัติที่เกี่ยวข้องดำเนินการในเชิงบริหารและวิชาการต่อไปจนเสร็จสิ้นโครงการ | + | <div class="kindent">ในทุกครั้งที่เสด็จฯ ไปในพื้นที่ต่างๆ ทรงทำประชาพิจารณ์ (Public Hearing) ทุกครั้ง โดยวิธีการของพระองค์นั้นเป็นวิธีที่เรียบง่ายและตรงไปตรงมา โดยจะทรงอธิบายถึงวัตถุประสงค์และผลที่ได้รับจากโครงการพัฒนากับพสกนิกรที่มาเฝ้าฯ ล้อมรอบอยู่ หลังจากนั้นจะทรงถามถึงความต้องการของประชาชน ความสมัครใจและให้ตกลงกันเองในกลุ่มที่จะได้รับประโยชน์และกลุ่มที่จะต้องเสียสละในขณะนั้นเลย พร้อมทั้งทรงการแผนที่เพื่อตรวจสอบถึงข้อมูลและข้อเท็จจริงของสภาพภูมิประเทศ และหลังจากนั้นก็จะทรงเรียกผู้นำท้องถิ่นและฝ่ายปกครองให้มารับทราบและดำเนินการในขั้นต้น ก่อนที่จะพระราชทานให้หน่วยงานปฏิบัติที่เกี่ยวข้องดำเนินการในเชิงบริหารและวิชาการต่อไปจนเสร็จสิ้นโครงการ |
− | "...มีคนบอกว่าโครงการพระราชดำริแตะต้องไม่ได้ ข้อนี้เป็นความคิดที่ผิดหรือเป็นความคิดที่ไม่ถูกต้องนัก เพราะหากโครงการพระราชดำริแตะต้องไม่ได้ เมืองไทยไม่เจริญ..." | + | "...มีคนบอกว่าโครงการพระราชดำริแตะต้องไม่ได้ ข้อนี้เป็นความคิดที่ผิดหรือเป็นความคิดที่ไม่ถูกต้องนัก เพราะหากโครงการพระราชดำริแตะต้องไม่ได้ เมืองไทยไม่เจริญ..."</div> |
[[ภาพ:หลักการทรงงาน07.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน07.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>'''ความตั้งใจจริงและมีความเพียร'''</h3> | + | <h3>'''๘ ความตั้งใจจริงและมีความเพียร'''</h3> |
− | ทำงานต้องมีความตั้งใจ อย่าทำงานไปวันๆ ตั้งใจทำงานจะทำให้มีแรง มีกำลังใจ และต้องขยันหมั่นเพียร งานบางอย่างยาก แต่ก็ต้องฟันฝ่าไปให้ได้ ดังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานข้อคิดเกี่ยวกับความเพียรในพระราชนิพนธ์เรื่อง "พระมหาชนก" ความตอนหนึ่งว่า | + | <div class="kindent">ทำงานต้องมีความตั้งใจ อย่าทำงานไปวันๆ ตั้งใจทำงานจะทำให้มีแรง มีกำลังใจ และต้องขยันหมั่นเพียร งานบางอย่างยาก แต่ก็ต้องฟันฝ่าไปให้ได้ ดังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานข้อคิดเกี่ยวกับความเพียรในพระราชนิพนธ์เรื่อง "พระมหาชนก" ความตอนหนึ่งว่า |
− | "...คนเราทำอะไรต้องมีความเพียร แม้ไม่เห็นฝั่งก็ต้องว่ายน้ำและมีคำตอบอยู่ว่ามีประโยชน์อย่างไร เพราะถ้าหากไม่เพียรที่จะว่ายน้ำเป็นเวลา ๗ วัน ๗ คืน ก็จะไม่พบเทวดา คนอื่นไม่มีความเพียรที่จะว่ายน้ำ ก็จมเป็นอาหารของปลา ของเต่า เพราะฉะนั้น ความเพียรแม้จะไม่ทราบว่าจะมีถึงฝั่งเมื่อไร ก็ต้องเพียรว่ายน้ำต่อไป..." | + | "...คนเราทำอะไรต้องมีความเพียร แม้ไม่เห็นฝั่งก็ต้องว่ายน้ำและมีคำตอบอยู่ว่ามีประโยชน์อย่างไร เพราะถ้าหากไม่เพียรที่จะว่ายน้ำเป็นเวลา ๗ วัน ๗ คืน ก็จะไม่พบเทวดา คนอื่นไม่มีความเพียรที่จะว่ายน้ำ ก็จมเป็นอาหารของปลา ของเต่า เพราะฉะนั้น ความเพียรแม้จะไม่ทราบว่าจะมีถึงฝั่งเมื่อไร ก็ต้องเพียรว่ายน้ำต่อไป..."</div> |
[[ภาพ:หลักการทรงงาน08.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน08.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>'''กาแฟต้นเดียว : ก้าวแรกที่กล้าก้าว'''</h3> | + | <h3>'''๙ กาแฟต้นเดียว : ก้าวแรกที่กล้าก้าว'''</h3> |
− | เป็นตัวอย่างหนึ่งของการพัฒนาชาวเขา คือเมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๑๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ไปทอดพระเนตรไร่กาแฟที่ชาวกะเหรี่ยงปลูกไว้ บริเวณพื้นที่บ้างอังกาน้อย ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ โดยที่ไร่แห่งนั้นมีต้นกาแฟเพียงต้นเดียว มีพระราชกระแสกับข้าราชบริพารที่อยู่ในขบวนเสด็จฯ ที่ไม่เข้าใจวัตถุประสงค์ในการเสด็จฯ ข้ามเขาสูงมาเพื่อการนี้ด้วยพระสุรเสียงที่เปี่ยมไปด้วยพระเมตตาว่า "...แต่ก่อนเขาปลูกฝิ่น เราไปพูดจาชี้แจงชักชวนให้เขามาลองปลูกกาแฟแทน กะเหรี่ยงไม่เคยปลูกกาแฟมาก่อน ยังดีที่กาแฟไม่ตายเสียหมด แต่ยังเหลืออยู่หนึ่งต้นนั้น ต้องถือว่าเป็นความก้าวหน้าสำหรับกะเหรี่ยง..." จึงต้องเสด็จฯ ไปทอดพระเนตรจะได้แนะนำเขาต่อไปว่า ทำอย่างไรกาแฟจึงจะเหลืออยู่มากกว่าหนึ่งต้น ปรากฏว่าปีต่อมาราษฎรชาวกะเหรี่ยงดอยอินทนนท์ขายกาแฟได้เป็นเงินต่อไร่ต่อปีสูงกว่าที่เคยขายฝิ่นได้ | + | <div class="kindent">เป็นตัวอย่างหนึ่งของการพัฒนาชาวเขา คือเมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๑๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ไปทอดพระเนตรไร่กาแฟที่ชาวกะเหรี่ยงปลูกไว้ บริเวณพื้นที่บ้างอังกาน้อย ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ โดยที่ไร่แห่งนั้นมีต้นกาแฟเพียงต้นเดียว มีพระราชกระแสกับข้าราชบริพารที่อยู่ในขบวนเสด็จฯ ที่ไม่เข้าใจวัตถุประสงค์ในการเสด็จฯ ข้ามเขาสูงมาเพื่อการนี้ด้วยพระสุรเสียงที่เปี่ยมไปด้วยพระเมตตาว่า "...แต่ก่อนเขาปลูกฝิ่น เราไปพูดจาชี้แจงชักชวนให้เขามาลองปลูกกาแฟแทน กะเหรี่ยงไม่เคยปลูกกาแฟมาก่อน ยังดีที่กาแฟไม่ตายเสียหมด แต่ยังเหลืออยู่หนึ่งต้นนั้น ต้องถือว่าเป็นความก้าวหน้าสำหรับกะเหรี่ยง..." จึงต้องเสด็จฯ ไปทอดพระเนตรจะได้แนะนำเขาต่อไปว่า ทำอย่างไรกาแฟจึงจะเหลืออยู่มากกว่าหนึ่งต้น ปรากฏว่าปีต่อมาราษฎรชาวกะเหรี่ยงดอยอินทนนท์ขายกาแฟได้เป็นเงินต่อไร่ต่อปีสูงกว่าที่เคยขายฝิ่นได้</div> |
[[ภาพ:หลักการทรงงาน09.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน09.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>'''คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม'''</h3> | + | <h3>'''๑๐ คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม'''</h3> |
− | โดยต้องคิดให้ดี ให้ลึกซึ้ง อย่างเช่นโครงการเขื่อนป่าสักฯ เป็นการดำเนินโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ที่เป็นตัวอย่างที่ดี ที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและไม่ได้ละเลยคนส่วนน้อยที่ต้องเสียสละเพื่อส่วนรวม เมื่อส่วนรวมได้ประโยชน์อย่างมากมาย คนส่วนรวมต้องช่วยคนกลุ่มเล็กที่เสียสละอย่างเต็มที่ | + | <div class="kindent">โดยต้องคิดให้ดี ให้ลึกซึ้ง อย่างเช่นโครงการเขื่อนป่าสักฯ เป็นการดำเนินโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ที่เป็นตัวอย่างที่ดี ที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและไม่ได้ละเลยคนส่วนน้อยที่ต้องเสียสละเพื่อส่วนรวม เมื่อส่วนรวมได้ประโยชน์อย่างมากมาย คนส่วนรวมต้องช่วยคนกลุ่มเล็กที่เสียสละอย่างเต็มที่ |
− | "...การปฏิบัติงานทุกอย่างของข้าราชการ มีผลเกี่ยวเนื่องถึงประโยชน์ส่วนรวมของบ้านเมืองและประชาชนทุกคน เพราะฉะนั้นจึงจำเป็นที่ข้าราชการทุกคนจะต้องทำหน้าที่ทุกๆประการให้บริสุทธิ์ บริบูรณ์โดยเต็มกำลังสติปัญญา ความรู้ ความสามารถ เพื่อผลการปฏิบัติราชการทุกอย่างจักได้บรรลุความสำเร็จอย่างสูงและบังเกิดประโยชน์อย่างดีที่สุดแก่ตนเอง แก่หน้าที่และแก่แผ่นดิน..." | + | "...การปฏิบัติงานทุกอย่างของข้าราชการ มีผลเกี่ยวเนื่องถึงประโยชน์ส่วนรวมของบ้านเมืองและประชาชนทุกคน เพราะฉะนั้นจึงจำเป็นที่ข้าราชการทุกคนจะต้องทำหน้าที่ทุกๆประการให้บริสุทธิ์ บริบูรณ์โดยเต็มกำลังสติปัญญา ความรู้ ความสามารถ เพื่อผลการปฏิบัติราชการทุกอย่างจักได้บรรลุความสำเร็จอย่างสูงและบังเกิดประโยชน์อย่างดีที่สุดแก่ตนเอง แก่หน้าที่และแก่แผ่นดิน..."</div> |
[[ภาพ:หลักการทรงงาน10.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน10.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>'''เข้าใจความต้องการของประชาชน'''</h3> | + | <h3>'''๑๑ เข้าใจความต้องการของประชาชน'''</h3> |
− | ถ้าประชาชนไม่ต้องการอย่าไปยัดเยียดอะไรให้ ดังเช่นการดำเนินงานโครงการต่างๆ ให้แก่ประชาชนนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานพระราชดำริแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอยู่เสมอๆ ว่า | + | <div class="kindent">ถ้าประชาชนไม่ต้องการอย่าไปยัดเยียดอะไรให้ ดังเช่นการดำเนินงานโครงการต่างๆ ให้แก่ประชาชนนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานพระราชดำริแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอยู่เสมอๆ ว่า |
− | "...การเข้าใจถึงสถานการณ์ของผู้ที่เราจะช่วยเหลือนั้นเป็นสิ่งสำคัญที่สุด การช่วยเหลือให้เขาได้รับสิ่งที่เขาควรจะได้รับตามความจำเป็นอย่างเหมาะสม จะเป็นการช่วยเหลือที่ได้ผลที่สุด... อีกประการหนึ่งในการช่วยเหลือนั้น ควรยึดหลักสำคัญว่า เราจะช่วยเขาเพื่อให้เขาสามารถช่วยตนเองได้ต่อไป..." | + | "...การเข้าใจถึงสถานการณ์ของผู้ที่เราจะช่วยเหลือนั้นเป็นสิ่งสำคัญที่สุด การช่วยเหลือให้เขาได้รับสิ่งที่เขาควรจะได้รับตามความจำเป็นอย่างเหมาะสม จะเป็นการช่วยเหลือที่ได้ผลที่สุด... อีกประการหนึ่งในการช่วยเหลือนั้น ควรยึดหลักสำคัญว่า เราจะช่วยเขาเพื่อให้เขาสามารถช่วยตนเองได้ต่อไป..."</div> |
=== === | === === | ||
[[ภาพ:หลักการทรงงาน11.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน11.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>'''พึ่งตนเอง'''</h3> | + | <h3>'''๑๒ พึ่งตนเอง'''</h3> |
− | พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสอนให้ชาวไทยสามารถดำรงชีวิตด้วยตนเองได้ ไม่ว่าจะเป็นการพึ่งตนเองทั้งทางด้านจิตใจ ที่ต้องเข้มแข็ง มีจิตสำนึกที่ดี สร้างสรรค์ให้ตนเองและชาติโดยรวม ด้านสังคม ก็ต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายชุมชนที่แข็งแรงเป็นอิสระ หรือแม้กระทั่งด้านเศรษฐกิจที่ต้องมุ่งลดรายจ่ายก่อนเป็นสำคัญ และยึดหลักพออยู่ พอกิน พอใช้และสามารถอยู่ได้ด้วยตนเองในระดับพื้นฐาน ดังพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า | + | <div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสอนให้ชาวไทยสามารถดำรงชีวิตด้วยตนเองได้ ไม่ว่าจะเป็นการพึ่งตนเองทั้งทางด้านจิตใจ ที่ต้องเข้มแข็ง มีจิตสำนึกที่ดี สร้างสรรค์ให้ตนเองและชาติโดยรวม ด้านสังคม ก็ต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายชุมชนที่แข็งแรงเป็นอิสระ หรือแม้กระทั่งด้านเศรษฐกิจที่ต้องมุ่งลดรายจ่ายก่อนเป็นสำคัญ และยึดหลักพออยู่ พอกิน พอใช้และสามารถอยู่ได้ด้วยตนเองในระดับพื้นฐาน ดังพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า |
− | "...ยืนบนขาของตัวเอง (ซึ่งแปลว่าพึ่งตนเอง) หมายความว่าสองขาของเรานี่ ยืนบนพื้นให้อยู่ได้ไม่หกล้ม ไม่ต้องไปขอยืมขาของคนอื่นมาใช้สำหรับยืน..." | + | "...ยืนบนขาของตัวเอง (ซึ่งแปลว่าพึ่งตนเอง) หมายความว่าสองขาของเรานี่ ยืนบนพื้นให้อยู่ได้ไม่หกล้ม ไม่ต้องไปขอยืมขาของคนอื่นมาใช้สำหรับยืน..."</div> |
[[ภาพ:หลักการทรงงาน12.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน12.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>'''ส่งเสริมคนดีและคนเก่ง'''</h3> | + | <h3>'''๑๓ ส่งเสริมคนดีและคนเก่ง'''</h3> |
− | ควรให้การสนับสนุนส่งเสริมผู้ปฏิบัติงาน เพราะคนดี คนเก่ง จะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาความเจริญในด้านต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ดังพระราชดำรัสที่ว่า | + | <div class="kindent">ควรให้การสนับสนุนส่งเสริมผู้ปฏิบัติงาน เพราะคนดี คนเก่ง จะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาความเจริญในด้านต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ดังพระราชดำรัสที่ว่า |
− | "...ในบ้านเมืองนั้น มีทั้งคนดีและคนไม่ดี การทำให้บ้านเมืองมีความปรกติสุขเรียบร้อยจึงมิใช่การทำให้ทุกคนเป็นคนดี ไม่มีใครจะทำให้ทุกคนเป็นคนดีได้ทั้งหมด หากอยู่แต่การส่งเสริมคนดี ให้คนดีได้ปกครองบ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดีไม่ให้มีอำนาจ ไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้..." | + | "...ในบ้านเมืองนั้น มีทั้งคนดีและคนไม่ดี การทำให้บ้านเมืองมีความปรกติสุขเรียบร้อยจึงมิใช่การทำให้ทุกคนเป็นคนดี ไม่มีใครจะทำให้ทุกคนเป็นคนดีได้ทั้งหมด หากอยู่แต่การส่งเสริมคนดี ให้คนดีได้ปกครองบ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดีไม่ให้มีอำนาจ ไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้..."</div> |
[[ภาพ:หลักการทรงงาน13.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน13.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>'''การเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน'''</h3> | + | <h3>'''๑๔ การเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน'''</h3> |
− | ต้องคิดถึงคนอื่นบ้าง อย่าคิดถึงแต่ตัวเอง เห็นแก่ตัวอย่างเดียวอยู่ไม่รอด ต้องรู้จักเสียสละเพื่อส่วนรวม ดังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริแก่คนไทยไว้ว่า | + | <div class="kindent">ต้องคิดถึงคนอื่นบ้าง อย่าคิดถึงแต่ตัวเอง เห็นแก่ตัวอย่างเดียวอยู่ไม่รอด ต้องรู้จักเสียสละเพื่อส่วนรวม ดังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริแก่คนไทยไว้ว่า |
"...สังคมใดก็ตาม ถ้ามีความเอื้อเฟื้อเกื้อกูลกัน ด้วยความมุ่งดีมุ่งเจริญต่อกัน สังคมนั้นย่อมเต็มไปด้วยไมตรีจิต มิตรภาพ มีความร่มเย็นเป็นสุข น่าอยู่..." | "...สังคมใดก็ตาม ถ้ามีความเอื้อเฟื้อเกื้อกูลกัน ด้วยความมุ่งดีมุ่งเจริญต่อกัน สังคมนั้นย่อมเต็มไปด้วยไมตรีจิต มิตรภาพ มีความร่มเย็นเป็นสุข น่าอยู่..." | ||
− | อีกทั้งทรงรับสั่งอยู่เสมอเกี่ยวกับการเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ว่า ที่พระองค์ทรงทำอยู่นั้นทรงใช้หลักสังฆทาน ความหมายนี้ลึกซึ้งมาก คือ "ให้เพื่อให้" พระองค์ไม่เคยนึกว่าเมื่อให้แล้วจะต้องอย่างนั้นอย่างนี้ หลักสังฆทานให้โดยไม่เลือก ในฐานะเพื่อนมนุษย์ผู้ประสบความทุกข์ยากก็มีโครงการเข้าไปช่วยเหลือ ให้เพื่อให้จริงๆ ไม่ได้ให้เพื่อคิดหวังอะไรตอบแทน | + | อีกทั้งทรงรับสั่งอยู่เสมอเกี่ยวกับการเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ว่า ที่พระองค์ทรงทำอยู่นั้นทรงใช้หลักสังฆทาน ความหมายนี้ลึกซึ้งมาก คือ "ให้เพื่อให้" พระองค์ไม่เคยนึกว่าเมื่อให้แล้วจะต้องอย่างนั้นอย่างนี้ หลักสังฆทานให้โดยไม่เลือก ในฐานะเพื่อนมนุษย์ผู้ประสบความทุกข์ยากก็มีโครงการเข้าไปช่วยเหลือ ให้เพื่อให้จริงๆ ไม่ได้ให้เพื่อคิดหวังอะไรตอบแทน</div> |
[[ภาพ:หลักการทรงงาน14.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน14.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>'''ปรัชญา[[เศรษฐกิจพอเพียง]]'''</h3> | + | <h3>'''๑๕ ปรัชญา[[เศรษฐกิจพอเพียง]]'''</h3> |
− | |||
− | "...พอเพียงนี้ความหมายกว้างขวางยิ่งกว่านี้อีก คือคำว่าพอ ก็เพียงพอ เพียงนี้ก็พอดังนั้นเอง คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิด อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียงหมายความว่าพอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข..." | + | <div class="kindent">คือยึดความพอดี พอเพียง พอควร เป็นที่ตั้ง อย่าทำอะไรให้ล้นเกินพอดี เศรษฐกิจพอเพียงอธิบายอย่างง่ายที่สุด คือ ถ้ากินมากก็จุก ไม่กินหรือกินน้อยก็หิวโหย ทำอะไรให้พอดี แต่ต้องทำอย่างเต็มศักยภาพที่แต่ละคนมีอยู่ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ |
+ | |||
+ | "...พอเพียงนี้ความหมายกว้างขวางยิ่งกว่านี้อีก คือคำว่าพอ ก็เพียงพอ เพียงนี้ก็พอดังนั้นเอง คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิด อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียงหมายความว่าพอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข..."</div> | ||
[[ภาพ:หลักการทรงงาน15.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน15.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | <h3>'''รู้ รัก สามัคคี'''</h3> | + | <h3>'''๑๖ รู้ รัก สามัคคี'''</h3> |
− | รู้ คือ รู้ต้นเหตุ รู้ปปลายเหตุ แล้วถึงเริ่มทำงาน จะได้มีประสิทธิภาพ ต้องรู้ถึงปัจจัยทั้งหมด ทั้งรู้ถึงปัญหา และรู้ถึงวิธีการแก้ไขปัญหา | + | <div class="kindent">รู้ คือ รู้ต้นเหตุ รู้ปปลายเหตุ แล้วถึงเริ่มทำงาน จะได้มีประสิทธิภาพ ต้องรู้ถึงปัจจัยทั้งหมด ทั้งรู้ถึงปัญหา และรู้ถึงวิธีการแก้ไขปัญหา</div> |
− | รัก คือ ความรัก ความเมตตา ซึ่งจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดการกระทำ และไปลงมือปฏิบัติแก้ไขปัญหานั้นๆ อีกทั้งความรักที่มีความเมตตากรุณาเป็นพื้นฐาน ก็สามารถนำไปสู่ความปรารถนาที่จะช่วยเหลือเกื้อกูลสนับสนุนให้บุคคลอื่นบรรลุประโยชน์ หรือเข้าถึงจุดหมายของชีวิตของเขาในระดับต่างๆ ได้ | + | <div class="kindent">รัก คือ ความรัก ความเมตตา ซึ่งจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดการกระทำ และไปลงมือปฏิบัติแก้ไขปัญหานั้นๆ อีกทั้งความรักที่มีความเมตตากรุณาเป็นพื้นฐาน ก็สามารถนำไปสู่ความปรารถนาที่จะช่วยเหลือเกื้อกูลสนับสนุนให้บุคคลอื่นบรรลุประโยชน์ หรือเข้าถึงจุดหมายของชีวิตของเขาในระดับต่างๆ ได้</div> |
− | สามัคคี คือ การที่จะลงมือปฏิบัตินั้น ควรคำนึงเสมอว่า เราจะทำงานคนเดียวไม่ได้ ต้องทำงานร่วมมือร่วมใจเป็นองค์กร เป็นหมู่คณะ จึงจะมีพลังเข้าไปแก้ปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี | + | <div class="kindent">สามัคคี คือ การที่จะลงมือปฏิบัตินั้น ควรคำนึงเสมอว่า เราจะทำงานคนเดียวไม่ได้ ต้องทำงานร่วมมือร่วมใจเป็นองค์กร เป็นหมู่คณะ จึงจะมีพลังเข้าไปแก้ปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี</div> |
[[ภาพ:หลักการทรงงาน17.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน17.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>'''เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา'''</h3> | + | <h3>'''๑๗ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา'''</h3> |
− | เป็นสิ่งที่ต้องเข้าใจก่อน การพัฒนาในด้านต่างๆ ต้องเข้าใจภูมิประเทศ เข้าใจคน เข้าใจหลักปฏิบัติและที่สำคัญ เราเข้าใจเขาและจะต้องทำอย่างไรให้เขาเข้าใจเราด้วย เราเข้าถึงเขาแล้ว ต้องทำอย่างไรให้เขาอยากเข้าถึงเราด้วย เมื่อเข้าใจกันแล้วก็สามารถที่จะนำไปสู่การพัฒนาในขั้นต่อไปได้ | + | <div class="kindent">เป็นสิ่งที่ต้องเข้าใจก่อน การพัฒนาในด้านต่างๆ ต้องเข้าใจภูมิประเทศ เข้าใจคน เข้าใจหลักปฏิบัติและที่สำคัญ เราเข้าใจเขาและจะต้องทำอย่างไรให้เขาเข้าใจเราด้วย เราเข้าถึงเขาแล้ว ต้องทำอย่างไรให้เขาอยากเข้าถึงเราด้วย เมื่อเข้าใจกันแล้วก็สามารถที่จะนำไปสู่การพัฒนาในขั้นต่อไปได้</div> |
[[ภาพ:หลักการทรงงาน18.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน18.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>'''ปลูกป่าในใจคน'''</h3> | + | <h3>'''๑๘ ปลูกป่าในใจคน'''</h3> |
− | เป็นการปลูกป่าลงบนแผ่นดิน ด้วยความต้องการอยู่รอดของมนุษย์ ทำให้ต้องการบริโภคและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลือง เพื่อประโยชน์ของตนเองและสร้างความเสียหายให้แก่สิ่งแวดล้อม ไม่รู้จักพอ ปัญหาความไม่สมดุลจึงบังเกิดขึ้น ดังนั้นในการที่จะฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติให้กลับคืนมาจะต้องปลูกจิตสำนึกในการรักผืนป่าให้แก่คนเสียก่อน ดังพระราชดำรัสตอนหนึ่งความว่า | + | <div class="kindent">เป็นการปลูกป่าลงบนแผ่นดิน ด้วยความต้องการอยู่รอดของมนุษย์ ทำให้ต้องการบริโภคและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลือง เพื่อประโยชน์ของตนเองและสร้างความเสียหายให้แก่สิ่งแวดล้อม ไม่รู้จักพอ ปัญหาความไม่สมดุลจึงบังเกิดขึ้น ดังนั้นในการที่จะฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติให้กลับคืนมาจะต้องปลูกจิตสำนึกในการรักผืนป่าให้แก่คนเสียก่อน ดังพระราชดำรัสตอนหนึ่งความว่า |
− | "...เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่านั้นก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดิน และรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง..." | + | "...เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่านั้นก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดิน และรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง..."</div> |
[[ภาพ:หลักการทรงงาน19.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | [[ภาพ:หลักการทรงงาน19.jpg|ในหลวงประกอบพระราชกรณียกิจ|center]] | ||
− | <h3>'''ทำงานอย่างมีความสุข'''</h3> | + | <h3>'''๒๐ ทำงานอย่างมีความสุข'''</h3> |
− | พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระเกษมสำราญ และทรงมีความสุขทุกคราที่ได้ช่วยเหลือประชาชน ซึ่งเคยรับสั่งครั้งหนึ่งว่า | + | <div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระเกษมสำราญ และทรงมีความสุขทุกคราที่ได้ช่วยเหลือประชาชน ซึ่งเคยรับสั่งครั้งหนึ่งว่า |
− | "...ทำงานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ นอกจากการมีความสุขร่วมกัน ในการทำประโยชน์ให้กับผู้อื่น..." | + | "...ทำงานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ นอกจากการมีความสุขร่วมกัน ในการทำประโยชน์ให้กับผู้อื่น..."</div> |
+ | <h3>'''๒๑ ขาดทุน คือ กำไร (Our loss is our gain.)'''</h3> | ||
+ | <div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงยึดหลัก "การให้" และ "การเสียสละ" เป็นการกระทำอันมีผลเป็นกำไร คือความอยู่ดีมีสุขของราษฎร ซึ่งสามารถสะท้อนให้เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจนได้ ทรงดำเนินงานที่ยึดผลสำเร็จแห่งความ "คุ้มค่า" มากกว่า "คุ้มทุน" ทรงเล็งเห็นผลที่ได้จากการลงทุนเพื่อประโยชน์แก่คนส่วนใหญ่ อันได้แก่ความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ซึ่งไม่สามารถตีค่าเป็นตัวเงินได้ และมีความสำคัญมากกว่าตัวเลขตามหลักเศรษฐศาสตร์ที่อาจจะถือว่าเป็นการลงทุนที่ขาดทุนหรือไม่คุ้มทุน</div> | ||
+ | |||
+ | <h3>'''๒๒ องค์รวม (Holistic)'''</h3> | ||
+ | <div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีวิธีคิดเป็นองค์รวมหรือมองอย่างครบวงจร ในการพระราชทานพระราชดำริเกี่ยวกับโครงการหนึ่งนั้นจะทรงมองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และแนวทางการแก้ไขอย่างเชื่อมโยง เช่น เกษตรทฤษฎีใหม่ที่พระราชทานแก่ปวงชนชาวไทยเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพเกษตรกรรมอย่างเป็นองค์รวม ตั้งแต่การถือครองที่ดินโดยเฉลี่ยประมาณ ๑๐ - ๑๕ ไร่ เพื่อการบริหารจัดการที่ดินและแหล่งน้ำ อันเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการประกอบอาชีพ เมื่อมีน้ำในการทำเกษตรแล้วส่งผลให้ผลผลิตดีขึ้น นำไปสู่การเรียนรู้วิธีการจัดการและการตลาด รวมถึงการรวมกลุ่มรวมพลังชุมชนให้มีความเข้มแข็ง เพื่อพร้อมที่จะออกสู่การเปลี่ยนแปลงของสังคมภายนอกได้อย่างครบวงจร | ||
+ | |||
+ | การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงยึดหลักการดำเนินงานอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางสอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมรอบตัว กับภูมิสังคมและสามารถปฏิบัติได้จริง ทรงมองปัญหาตั้งแต่ภาพใหญ่จนถึงภาพเล็ก | ||
+ | ในทุกๆ มิติ ทรงเน้นความเรียบง่ายและความเป็นธรรมชาติเป็นสำคัญ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาที่สร้างประโยชน์และคุณูปการต่อพสกนิกรอย่างสูงสุด | ||
+ | |||
+ | <span style="color:#00AEEF">หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นแรงบันดาลใจอันสูงค่า สมควรอย่างยิ่งที่ปวงชนชาวไทยทั้งหลายจะเจริญตามรอยพระยุคลบาท น้อมนำหลักการทรงงานมาเป็นพื้นฐานการปฏิบัติของตน ทั้งในด้านการปฏิบัติงานและการดำรงชีวิต เพื่อประโยชน์ทั้งต่อตนเอง ต่อสังคมและต่อประเทศชาติ สมดังที่พระองค์ทรงวางรากฐานแห่งความดี ความพอเพียง ทั้งจากพระราชจริยวัตรอันงดงามเป็นที่ประจักษ์ จากพระราชดำรัสที่เป็นดังพรอันประเสริฐและพระราชทานชี้แนะแนวทางแห่งความสุข จากการทรงงานที่ทรงปฏิบัติเป็นแบบอย่าง เหล่านี้ล้วนทรงปลูกฝังไว้แก่ปวงชนชาวไทยเพื่อให้แผ่นดินได้วัฒนาอย่างถาวรสืบไป</span> | ||
+ | </div> | ||
---- | ---- | ||
แถว 168: | แถว 181: | ||
โดย สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) | โดย สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) | ||
+ | </div> | ||
− | + | [[หมวดหมู่:รัชกาลที่9]] | |
− | [[หมวดหมู่:รัชกาลที่9 |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:46, 7 ตุลาคม 2552
หลักการทรงงาน
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
๑ ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ
๒ ระเบิดจากข้างใน
๓ อดทน มุ่งมั่น
๔ ภูมิสังคม
๕ อ่อนน้อม ถ่อมตน เรียบง่ายและประหยัด
๖ ซื่อสัตย์ สุจริต กตัญญู
๗ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและเคารพความคิดที่แตกต่าง
๘ ความตั้งใจจริงและมีความเพียร
๙ กาแฟต้นเดียว : ก้าวแรกที่กล้าก้าว
๑๐ คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม
๑๑ เข้าใจความต้องการของประชาชน
๑๒ พึ่งตนเอง
๑๓ ส่งเสริมคนดีและคนเก่ง
๑๔ การเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน
"...สังคมใดก็ตาม ถ้ามีความเอื้อเฟื้อเกื้อกูลกัน ด้วยความมุ่งดีมุ่งเจริญต่อกัน สังคมนั้นย่อมเต็มไปด้วยไมตรีจิต มิตรภาพ มีความร่มเย็นเป็นสุข น่าอยู่..."
อีกทั้งทรงรับสั่งอยู่เสมอเกี่ยวกับการเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ว่า ที่พระองค์ทรงทำอยู่นั้นทรงใช้หลักสังฆทาน ความหมายนี้ลึกซึ้งมาก คือ "ให้เพื่อให้" พระองค์ไม่เคยนึกว่าเมื่อให้แล้วจะต้องอย่างนั้นอย่างนี้ หลักสังฆทานให้โดยไม่เลือก ในฐานะเพื่อนมนุษย์ผู้ประสบความทุกข์ยากก็มีโครงการเข้าไปช่วยเหลือ ให้เพื่อให้จริงๆ ไม่ได้ให้เพื่อคิดหวังอะไรตอบแทน
๑๕ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๑๖ รู้ รัก สามัคคี
๑๗ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา
๑๘ ปลูกป่าในใจคน
๒๐ ทำงานอย่างมีความสุข
๒๑ ขาดทุน คือ กำไร (Our loss is our gain.)
๒๒ องค์รวม (Holistic)
การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงยึดหลักการดำเนินงานอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางสอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมรอบตัว กับภูมิสังคมและสามารถปฏิบัติได้จริง ทรงมองปัญหาตั้งแต่ภาพใหญ่จนถึงภาพเล็ก ในทุกๆ มิติ ทรงเน้นความเรียบง่ายและความเป็นธรรมชาติเป็นสำคัญ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาที่สร้างประโยชน์และคุณูปการต่อพสกนิกรอย่างสูงสุด
หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นแรงบันดาลใจอันสูงค่า สมควรอย่างยิ่งที่ปวงชนชาวไทยทั้งหลายจะเจริญตามรอยพระยุคลบาท น้อมนำหลักการทรงงานมาเป็นพื้นฐานการปฏิบัติของตน ทั้งในด้านการปฏิบัติงานและการดำรงชีวิต เพื่อประโยชน์ทั้งต่อตนเอง ต่อสังคมและต่อประเทศชาติ สมดังที่พระองค์ทรงวางรากฐานแห่งความดี ความพอเพียง ทั้งจากพระราชจริยวัตรอันงดงามเป็นที่ประจักษ์ จากพระราชดำรัสที่เป็นดังพรอันประเสริฐและพระราชทานชี้แนะแนวทางแห่งความสุข จากการทรงงานที่ทรงปฏิบัติเป็นแบบอย่าง เหล่านี้ล้วนทรงปลูกฝังไว้แก่ปวงชนชาวไทยเพื่อให้แผ่นดินได้วัฒนาอย่างถาวรสืบไป
หนังสือตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ด้วยทศพิธราชธรรม และหลักการทำงาน
จัดพิพม์เผยแพร่เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาศมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐
โดย สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.)