ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่1"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 11 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | <div style="display:inline-table; clear:both;float:left"> | + | <div style="display:inline-table;width:850px;clear:both;float:left"> |
<div style="display:table; float:left"> | <div style="display:table; float:left"> | ||
{{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div> | {{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div> | ||
− | <div style="display:table;width: | + | <div style="display:table;width:700px; float:left; padding-left:25px"> |
− | + | <h1>ทศวรรษที่ ๑ พระราชสมภพ (พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)</h1> | |
<div class="kgreen" style="font-size:120%" align="center">ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทุกอย่าง เด็กๆ จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดมีขึ้นในตนเอง<br /> เพื่อจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่นคง.. | <div class="kgreen" style="font-size:120%" align="center">ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทุกอย่าง เด็กๆ จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดมีขึ้นในตนเอง<br /> เพื่อจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่นคง.. | ||
แถว 90: | แถว 90: | ||
</div> | </div> | ||
− | [[หมวดหมู่: | + | [[หมวดหมู่:๘ ทศวรรษแห่งการพัฒนา]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:38, 7 พฤศจิกายน 2561
ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)
ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)
ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)
ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)
ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)
ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)
ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)
ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)
ทศวรรษที่ ๑ พระราชสมภพ (พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)
ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทุกอย่าง เด็กๆ จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดมีขึ้นในตนเอง
เพื่อจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่นคง..
เพื่อจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่นคง..
พระบรมราโชวาทพระราชทานเพื่อเชิญลงพิมพ์ในหนังสือวันเด็ก พุทธศักราช ๒๕๓๑
"... อาจมีบางคนเข้าใจว่า ทำไมจึงสนใจเรื่องชลประทานหรือเรื่องป่าไม้ จำได้เมื่ออายุ ๑๐ ขวบ ที่โรงเรียนมีครูคนหนึ่งซึ่งเดี๋ยวนี้ตายไปแล้ว สอนเรื่องวิทยาศาสตร์ เรื่องการอนุรักษ์ดิน แล้วให้เขียนว่า ภูเขาต้องมีป่าไม้ ไม่อย่างนั้นเม็ดฝนลงมาแล้วจะชะดินลงมาเร็ว ทำให้ไหลตามน้ำไปทำความเสียหาย ดินหมดจากภูเขาเพราะไหลตามสายน้ำไป ก็เป็นหลักของชลประทานที่ว่า ถ้าเราไม่รักษาป่าไม้ข้างบนจะทำให้เดือดร้อนตลอดตั้งแต่ดินบนภูเขาจะหมดไป กระทั่งการที่จะมีตะกอนลงมาทับถมในแม่น้ำ ทำให้น้ำท่วมนี่นะเรียนมาตั้งแต่อายุ ๑๐ ขวบ..."
ในการสร้างเขื่อน จากพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ว่านี่คือ การสัมผัสครั้งแรกกับงานชลประทานและการปลูกป่า ความว่า
...ในไม่ช้าการเล่นในกองทรายนั้น จะรู้สึกว่าไม่สนุกนัก เพราะเมื่อเอาน้ำเทลงไปในทราย น้ำก็ซึมลงไปหมด จึงย้ายกันออกมาเล่นข้างนอก ขุดคลองในดิน นำน้ำมาใส่ไหลในคลองแล้ววิ่งไปเก็บกิ่งไม้กลับมาปลูกไว้ริมคลอง...
และมีพระนิพนธ์เกี่ยวกับเรื่องนี้เพิ่มเติมว่า ...ทั้งสองพระองค์สนพระทัยในการกั้นน้ำ สร้างเขื่อนแต่เพิ่งได้ทราบว่าไม่ใช่เป็นเพียงการเล่น แต่ยังเน้นการเรียนรู้อีกด้วย...
ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"
จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ