ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนรัชดาภิเษก"

แถว 2: แถว 2:
 
<div id="bg_g5">
 
<div id="bg_g5">
  
ถนนรัชดาภิเษก
+
<div class="kindent">ถนนรัชดาภิเษกเป็นถนนที่สร้างขึ้นตามกระแสพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชที่พระราชทานเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการจราจรในเขตนครหลวงกรุงเทพธนบุรี เมื่อ พ.ศ. 2514 จอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้เข้าเฝ้าเพื่อกราบบังคมทูลเรื่องพระราชพิธีรัชดาภิเษก (Silver Jubilee) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดำรัสเพื่อแก้ไขปัญหาการ จราจรเป็นครั้งแรก โดยมีพระราชประสงค์ให้สร้างถนนเพิ่มขึ้นเป็นถนนวงแหวนเพื่อพระราชทานเป็นของ ขวัญแก่ประชาชนแทนการสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีรัชดาภิเษก คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2514 ให้จัดสร้างถนนวงรอบขึ้นน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นพระบรมราชานุสรณ์ใน วโรกาสพระราชพิธีรัชดาภิเษก ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ครบ 25 ปี ในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2514 โดยรัฐบาลได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานชื่อถนนวงรอบว่า "ถนนรัชดาภิเษก" พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงวางศิลาฤกษ์การก่อสร้างถนนรัชดาภิเษก ณ บริเวณเชิงสะพานกรุงเทพตัดกับถนนเจริญกรุงเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2514 บริเวณแนวถนนตัดจากสะพานกรุงเทพผ่านถนนเจริญกรุงและต่อเชื่อมจนครบวงแหวน ปัจจุบันถือเป็นถนนวงแหวนรอบในโดยมีถนนกาญจนาภิเษก หรือทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 เป็นถนนวงแหวนรอบนอก ถนนวงแหวนรอบในส่วนที่ 1 เริ่มจากสามแยกท่าพระถึงถนนเพชรบุรีตัดใหม่ส่วนที่ 2 จากถนนพระรามที่ 4 ถึงสามแยกท่าพระ รวมระยะทางประมาณ 45 กิโลเมตร และมีพิธีเปิดถนนรัชดาภิเษกใน พ.ศ. 2519
  
 +
ถนนวงแหวนรอบในรัชดาภิเษกนั้นมิได้สร้างใหม่ขึ้นทั้งหมด บางช่วงเป็นถนนที่มีอยู่แต่เดิม เช่น ถนนจรัญสนิทวงศ์ (ช่วงสะพานพระราม 7-สี่แยกท่าพระ) ถนนพระรามที่ 3 (ช่วงสะพานกรุงเทพ-คลองเตย) ถนนอโศกมนตรีหรือถนนสุขุมวิท 21 (ช่วงสุขุมวิท-เพชรบุรีตัดใหม่) ถนนอโศก-ดินแดง (ช่วงเพชรบุรีตัดใหม่-พระราม 9) และถนนวงศ์สว่าง (ช่วงสี่แยกวงศ์สว่าง-สะพานพระราม 7) ส่วนช่วงอื่น ๆ ที่สร้างขึ้นใหม่จะใช้ชื่อถนนรัชดาภิเษก
 +
</div>
  
  
  
  
 
+
{{ดูเพิ่มเติม|[[พระราชพิธีรัชดาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๑๔]]/ [[การคมนาคม]]/ [[ถนนหยดน้ำ]]/ [[ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม]]/ [[ทางคู่ขนานลอยฟ้า]]/ [[จตุรทิศตะวันตก-ตะวันออก]]/ [[จราจร]]/ [[สะพานพระราม8]]}}
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
{{ดูเพิ่มเติม|[[การคมนาคม]]/ [[ถนนหยดน้ำ]]/ [[ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม]]/ [[ทางคู่ขนานลอยฟ้า]]/ [[จตุรทิศตะวันตก-ตะวันออก]]/ [[จราจร]]/ [[สะพานพระราม8]]}}
 
 
</div>
 
</div>
  
 
[[หมวดหมู่:โครงการ]]
 
[[หมวดหมู่:โครงการ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:59, 8 ตุลาคม 2552

 
ถนนรัชดาภิเษกเป็นถนนที่สร้างขึ้นตามกระแสพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชที่พระราชทานเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการจราจรในเขตนครหลวงกรุงเทพธนบุรี เมื่อ พ.ศ. 2514 จอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้เข้าเฝ้าเพื่อกราบบังคมทูลเรื่องพระราชพิธีรัชดาภิเษก (Silver Jubilee) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดำรัสเพื่อแก้ไขปัญหาการ จราจรเป็นครั้งแรก โดยมีพระราชประสงค์ให้สร้างถนนเพิ่มขึ้นเป็นถนนวงแหวนเพื่อพระราชทานเป็นของ ขวัญแก่ประชาชนแทนการสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีรัชดาภิเษก คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2514 ให้จัดสร้างถนนวงรอบขึ้นน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นพระบรมราชานุสรณ์ใน วโรกาสพระราชพิธีรัชดาภิเษก ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ครบ 25 ปี ในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2514 โดยรัฐบาลได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานชื่อถนนวงรอบว่า "ถนนรัชดาภิเษก" พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงวางศิลาฤกษ์การก่อสร้างถนนรัชดาภิเษก ณ บริเวณเชิงสะพานกรุงเทพตัดกับถนนเจริญกรุงเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2514 บริเวณแนวถนนตัดจากสะพานกรุงเทพผ่านถนนเจริญกรุงและต่อเชื่อมจนครบวงแหวน ปัจจุบันถือเป็นถนนวงแหวนรอบในโดยมีถนนกาญจนาภิเษก หรือทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 เป็นถนนวงแหวนรอบนอก ถนนวงแหวนรอบในส่วนที่ 1 เริ่มจากสามแยกท่าพระถึงถนนเพชรบุรีตัดใหม่ส่วนที่ 2 จากถนนพระรามที่ 4 ถึงสามแยกท่าพระ รวมระยะทางประมาณ 45 กิโลเมตร และมีพิธีเปิดถนนรัชดาภิเษกใน พ.ศ. 2519

ถนนวงแหวนรอบในรัชดาภิเษกนั้นมิได้สร้างใหม่ขึ้นทั้งหมด บางช่วงเป็นถนนที่มีอยู่แต่เดิม เช่น ถนนจรัญสนิทวงศ์ (ช่วงสะพานพระราม 7-สี่แยกท่าพระ) ถนนพระรามที่ 3 (ช่วงสะพานกรุงเทพ-คลองเตย) ถนนอโศกมนตรีหรือถนนสุขุมวิท 21 (ช่วงสุขุมวิท-เพชรบุรีตัดใหม่) ถนนอโศก-ดินแดง (ช่วงเพชรบุรีตัดใหม่-พระราม 9) และถนนวงศ์สว่าง (ช่วงสี่แยกวงศ์สว่าง-สะพานพระราม 7) ส่วนช่วงอื่น ๆ ที่สร้างขึ้นใหม่จะใช้ชื่อถนนรัชดาภิเษก