ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิธีปลูกป่าทดแทน"

 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
 
<div id="bg_g2t">&nbsp;</div>
 
<div id="bg_g2t">&nbsp;</div>
 
<div id="bg_g2">
 
<div id="bg_g2">
<h3>'''วิธีปลูกป่าทดแทน'''</h3>
+
<h3>'''การจัดการป่าไม้ยั่งยืน: ปลูกป่าทดแทนบริเวณต้นน้ำลำธาร'''</h3>
 +
<div class="kindent">ด้วยทรงตระหนักในสมดุลของธรรมชาติอย่างลึกซึ้งได้ทรงดัดแปลงวิธีการสร้างป่าเพื่อการยังชีพของประชาชน อันแฝงประโยชน์ทั้งด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำไว้ด้วย ทรงเน้นวิธีการฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรมเพื่อให้ได้ป่าธรรมชาติดั้งเดิมในเวลาที่รวดเร็ว ด้วยวิธีที่เรียบง่ายประหยัด ทรงเริ่มปรับสภาพที่เอื้ออำนวยให้เกิดป่าขึ้นก่อนและพระราชทานแนวทางในการปลูกป่าทดแทนตามแหล่งต้นน้ำสาขาบนภูเขา ตลอดจนบริเวณอ่างเก็บน้ำและพื้นที่ทั่วไป ดำเนินการอยู่บนพื้นฐานของกฎแห่งธรรมชาติอาศัยวงจรชีวิตของป่า ให้ป่าได้มีเวลาในการสร้างตัวเองขึ้นใหม่เพื่อมีสภาพเป็นป่าธรรมชาติ วิธีการปลูกป่าตามแนวพระราชดำริ ได้แก่ การปลูกป่าจากสันเขาหรือไหล่เขาสู่เชิงเขา การปลูกป่าบนพื้นที่สูง โดยทรงคำนึงถึงธรรมชาติของต้นไม้บางชนิดที่มีฝักหรือเมล็ดสามารถกระจายพันธุ์ได้เองตามธรรมชาติ เช่น ลอยตกลงจากสันเขาลงมายังที่ต่ำ หรืออาศัยนกบินมากินเมล็ดแล้วไปถ่ายตามที่ต่างๆ เมื่อเมล็ดเหล่านั้นได้รับน้ำและความชื้นในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ก็จะงอกเป็นต้นอ่อนและเจริญเติบโตเป็นต้นไม้ใหญ่ อันเป็นการปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก (Natural Reforestation) เพียงแต่ควบคุมมิให้มีคนเข้าไปรบกวน ป้องกันมิให้เกิดไฟป่า และปล่อยให้ป่าได้ค่อยๆ ฟื้นตัวเองตามธรรมชาติ เมื่อทิ้งช่วงเวลาไว้ระยะหนึ่ง พรรณไม้ต่างๆ ก็จะค่อยเจริญเติบโตขึ้นเป็นสภาพป่าที่หนาทึบและสมบูรณ์ในอนาคต
  
 +
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานคำแนะนำถึงพันธุ์ไม้ที่จะนำมาปลูกป่าบนที่สูงนี้ว่า ควรเป็นพันธุ์ไม้ดั้งเดิมของภูมิประเทศนั้นๆ เป็นไม้มีเมล็ด ไม่ผลัดใบง่ายราคาถูก เช่น กระถินยักษ์ กระถินณรงค์ ไทร หว้า ตะขบ ฯลฯ รวมถึงทรงชี้แนะว่าเมล็ดของพันธุ์ไม้เหล่านี้ยังเป็นอาหารของสัตว์ป่า เท่ากับมีคุณูปการไปถึงการอนุรักษ์สัตว์ป่าด้วย
  
 
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานคำแนะนำให้มีการปลูกป่าทดแทนตามสภาพภูมิศาสตร์ และสภาวะแวดล้อมของพื้นที่ที่เหมาะสม กล่าวคือ
 
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานคำแนะนำให้มีการปลูกป่าทดแทนตามสภาพภูมิศาสตร์ และสภาวะแวดล้อมของพื้นที่ที่เหมาะสม กล่าวคือ
 
  
 
1) ปลูกป่าทดแทนในพื้นที่ป่าไม้ถูกบุกรุกแผ้วถางและพื้นที่ป่าไม้และพื้นที่เสื่อมโทรม
 
1) ปลูกป่าทดแทนในพื้นที่ป่าไม้ถูกบุกรุกแผ้วถางและพื้นที่ป่าไม้และพื้นที่เสื่อมโทรม
 
<span style="color:darkgreen">
 
<span style="color:darkgreen">
 
“...การปลูกป่าทดแทนในพื้นที่เสื่อมโทรมหรือพื้นที่ต้นน้ำลำธารที่ถูกบุกรุกแผ้วถางจนเป็นภูเขาหัวโล้น แล้วจำต้องปลูกป่า ทดแทนเร่งด่วนนั้น ควรจะทดลองปลูกต้นไม้ชนิดโตเร็วคลุมแนวร่องน้ำเสียก่อน เพื่อทำให้ความชุ่มชื้นค่อยๆ ทวีขึ้นแผ่ขยายออกไปทั้งสองร่องน้ำ ซึ่งจะทำให้ต้นไม้งอกงามและมีส่วนช่วยป้องกันไฟป่า เพราะไฟจะเกิดง่ายหากป่าขาดความชุ่มชื้น ในปีต่อไปก็ให้ปลูกต้นไม้ในพื้นที่ถัดขึ้นไป ความชุ่มชื้นก็จะแผ่ขยายกว้างออกไป ต้นไม้จะงอกงามดีตลอดทั้งปี...”</span>
 
“...การปลูกป่าทดแทนในพื้นที่เสื่อมโทรมหรือพื้นที่ต้นน้ำลำธารที่ถูกบุกรุกแผ้วถางจนเป็นภูเขาหัวโล้น แล้วจำต้องปลูกป่า ทดแทนเร่งด่วนนั้น ควรจะทดลองปลูกต้นไม้ชนิดโตเร็วคลุมแนวร่องน้ำเสียก่อน เพื่อทำให้ความชุ่มชื้นค่อยๆ ทวีขึ้นแผ่ขยายออกไปทั้งสองร่องน้ำ ซึ่งจะทำให้ต้นไม้งอกงามและมีส่วนช่วยป้องกันไฟป่า เพราะไฟจะเกิดง่ายหากป่าขาดความชุ่มชื้น ในปีต่อไปก็ให้ปลูกต้นไม้ในพื้นที่ถัดขึ้นไป ความชุ่มชื้นก็จะแผ่ขยายกว้างออกไป ต้นไม้จะงอกงามดีตลอดทั้งปี...”</span>
 
  
 
2) การปลูกป่าทดแทนตามไหล่เขา
 
2) การปลูกป่าทดแทนตามไหล่เขา
 
 
<span style="color:darkgreen">
 
<span style="color:darkgreen">
 
“...จะต้องปลูกต้นไม่หลายๆ ชนิด เพื่อให้ได้ประโยชน์เอนกประสงค์ คือ มีทั้งไม้ผล ไม้สำหรับก่อสร้าง และไม้สำหรับทำฟืน ซึ่งเกษตรกรจำเป็นต้องใช้เป็นประจำ ซึ่งเมื่อตัดไม้ใช้แล้ว ก็ปลูกทดแทนหมุนเวียนทันที...”</span>
 
“...จะต้องปลูกต้นไม่หลายๆ ชนิด เพื่อให้ได้ประโยชน์เอนกประสงค์ คือ มีทั้งไม้ผล ไม้สำหรับก่อสร้าง และไม้สำหรับทำฟืน ซึ่งเกษตรกรจำเป็นต้องใช้เป็นประจำ ซึ่งเมื่อตัดไม้ใช้แล้ว ก็ปลูกทดแทนหมุนเวียนทันที...”</span>
 
  
 
3) การปลูกป่าทดแทนบริเวณต้นน้ำบนยอดเขาและเนินสูง
 
3) การปลูกป่าทดแทนบริเวณต้นน้ำบนยอดเขาและเนินสูง
 
 
<span style="color:darkgreen">
 
<span style="color:darkgreen">
 
“...ต้องมีการปลูกป่าโดยปลูกไม้ยืนต้นและปลูกไม้ฟืน ซึ่งไม้ฟืนนั้นราษฎรสามารถตัดไปใช้ได้แต่ต้องมีการปลูกทดแทนเป็นระยะ ส่วนไม้ยืนต้นจะช่วยให้อากาศมีความชุ่มชื้น ทั้งยังช่วยยึดดินบนเขาไม่ให้พังทลายเมื่อเกิดฝนตกอีกด้วย...”</span>
 
“...ต้องมีการปลูกป่าโดยปลูกไม้ยืนต้นและปลูกไม้ฟืน ซึ่งไม้ฟืนนั้นราษฎรสามารถตัดไปใช้ได้แต่ต้องมีการปลูกทดแทนเป็นระยะ ส่วนไม้ยืนต้นจะช่วยให้อากาศมีความชุ่มชื้น ทั้งยังช่วยยึดดินบนเขาไม่ให้พังทลายเมื่อเกิดฝนตกอีกด้วย...”</span>
 
  
 
4) ให้มีการปลูกป่าที่ยอดเขา
 
4) ให้มีการปลูกป่าที่ยอดเขา
  
 
เนื่องจากสภาพป่าบนที่เขาสูงทรุดโทรม ซึ่งจะมีผลกระทบต่อลุ่มน้ำตอนล่าง และคัดเลือกพันธุ์ไม้ที่มีเมล็ดเป็นฝัก เพื่อให้เป็นกระบวนการธรรมชาติปลูกต่อไปจนถึงตีนเขา
 
เนื่องจากสภาพป่าบนที่เขาสูงทรุดโทรม ซึ่งจะมีผลกระทบต่อลุ่มน้ำตอนล่าง และคัดเลือกพันธุ์ไม้ที่มีเมล็ดเป็นฝัก เพื่อให้เป็นกระบวนการธรรมชาติปลูกต่อไปจนถึงตีนเขา
 
  
 
5) ปลูกป่าบริเวณอ่างเก็บน้ำ หรือเหนืออ่างเก็บน้ำที่ไม่มีความชุ่มชื้นยาวนานพอ
 
5) ปลูกป่าบริเวณอ่างเก็บน้ำ หรือเหนืออ่างเก็บน้ำที่ไม่มีความชุ่มชื้นยาวนานพอ
 
  
 
6) ปลูกป่าเพื่อพัฒนาลุ่มน้ำและแหล่งน้ำให้มีน้ำสะอาดบริโภค
 
6) ปลูกป่าเพื่อพัฒนาลุ่มน้ำและแหล่งน้ำให้มีน้ำสะอาดบริโภค
 
  
 
7) ปลูกป่าให้ราษฎรมีรายได้เพิ่มขึ้น
 
7) ปลูกป่าให้ราษฎรมีรายได้เพิ่มขึ้น
  
 
โดยให้ราษฎรในท้องที่นั้นๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการปลูกและดูแลรักษาต้นไม้ให้เจริญเติบโต นอกจากนี้ยังเป็นการปลูกฝังจิตสำนึกให้ราษฎรเห็นความสำคัญ ของการปลูกป่า
 
โดยให้ราษฎรในท้องที่นั้นๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการปลูกและดูแลรักษาต้นไม้ให้เจริญเติบโต นอกจากนี้ยังเป็นการปลูกฝังจิตสำนึกให้ราษฎรเห็นความสำคัญ ของการปลูกป่า
 
  
 
8) ปลูกป่าเสริมธรรมชาติ เพื่อเป็นการเพิ่มที่อยู่อาศัยแกสัตว์ป่า
 
8) ปลูกป่าเสริมธรรมชาติ เพื่อเป็นการเพิ่มที่อยู่อาศัยแกสัตว์ป่า
  
บัดนี้ ในหลายโครงการที่เป็นการปลูกป่าทดแทนตามแนวพระราชดำริได้บรรลุผลสัมฤทธิ์น่าพึงพอใจ อาทิเช่น โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา แม่ฟ้าหลวงที่ดอยตุง จังหวัดเชียงราย และที่หนองพลับ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โครงการปลูกสร้างสวนป่าในศูนย์ศึกษาการพัฒนาต่างๆ โครงการสวนป่าสิริเจริญวรรษ จังหวัดชลบุรี โครงการปลูกป่าห้วยองคต จังหวัดกาญจนบุรี โครงการปลูกป่าเสริมธรรมชาติในและนอกเขตภูพานราชนิเวศน์ จังหวัดสกลนคร เป็นต้น
+
<div class="kindent">บัดนี้ ในหลายโครงการที่เป็นการปลูกป่าทดแทนตามแนวพระราชดำริได้บรรลุผลสัมฤทธิ์น่าพึงพอใจ อาทิเช่น โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา แม่ฟ้าหลวงที่ดอยตุง จังหวัดเชียงราย และที่หนองพลับ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โครงการปลูกสร้างสวนป่าในศูนย์ศึกษาการพัฒนาต่างๆ โครงการสวนป่าสิริเจริญวรรษ จังหวัดชลบุรี โครงการปลูกป่าห้วยองคต จังหวัดกาญจนบุรี โครงการปลูกป่าเสริมธรรมชาติในและนอกเขตภูพานราชนิเวศน์ จังหวัดสกลนคร เป็นต้น</div>
  
  
 
----
 
----
 
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.3}}
 
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.3}}
 +
 +
 +
{{ดูเพิ่มเติม| [[ฝายชะลอความชุ่มชื้น]] / [[ภูเขาป่า]] / [[ทฤษฎีการปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก]] / [[ปลูกป่า3อย่างประโยชน์4อย่าง]] / [[ป่าเปียก]] / [[การแก้ไขปัญหาน้ำเสีย-เทคโนโลยี]] / [[การแก้ไขปัญหาทรัพยากรดิน]] / [[การแก้ไขปัญหาน้ำท่วม]] / [[การแก้ไขปัญหาน้ำแล้ง]] / [[หญ้าแฝก]]}}
 +
  
 
</div>
 
</div>
 
[[หมวดหมู่:แนวพระราชดำริ]]
 
[[หมวดหมู่:แนวพระราชดำริ]]
 
[[หมวดหมู่:การพัฒนาและฟื้นฟูป่า]]
 
[[หมวดหมู่:การพัฒนาและฟื้นฟูป่า]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:54, 29 กันยายน 2552

 

การจัดการป่าไม้ยั่งยืน: ปลูกป่าทดแทนบริเวณต้นน้ำลำธาร

ด้วยทรงตระหนักในสมดุลของธรรมชาติอย่างลึกซึ้งได้ทรงดัดแปลงวิธีการสร้างป่าเพื่อการยังชีพของประชาชน อันแฝงประโยชน์ทั้งด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำไว้ด้วย ทรงเน้นวิธีการฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรมเพื่อให้ได้ป่าธรรมชาติดั้งเดิมในเวลาที่รวดเร็ว ด้วยวิธีที่เรียบง่ายประหยัด ทรงเริ่มปรับสภาพที่เอื้ออำนวยให้เกิดป่าขึ้นก่อนและพระราชทานแนวทางในการปลูกป่าทดแทนตามแหล่งต้นน้ำสาขาบนภูเขา ตลอดจนบริเวณอ่างเก็บน้ำและพื้นที่ทั่วไป ดำเนินการอยู่บนพื้นฐานของกฎแห่งธรรมชาติอาศัยวงจรชีวิตของป่า ให้ป่าได้มีเวลาในการสร้างตัวเองขึ้นใหม่เพื่อมีสภาพเป็นป่าธรรมชาติ วิธีการปลูกป่าตามแนวพระราชดำริ ได้แก่ การปลูกป่าจากสันเขาหรือไหล่เขาสู่เชิงเขา การปลูกป่าบนพื้นที่สูง โดยทรงคำนึงถึงธรรมชาติของต้นไม้บางชนิดที่มีฝักหรือเมล็ดสามารถกระจายพันธุ์ได้เองตามธรรมชาติ เช่น ลอยตกลงจากสันเขาลงมายังที่ต่ำ หรืออาศัยนกบินมากินเมล็ดแล้วไปถ่ายตามที่ต่างๆ เมื่อเมล็ดเหล่านั้นได้รับน้ำและความชื้นในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ก็จะงอกเป็นต้นอ่อนและเจริญเติบโตเป็นต้นไม้ใหญ่ อันเป็นการปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก (Natural Reforestation) เพียงแต่ควบคุมมิให้มีคนเข้าไปรบกวน ป้องกันมิให้เกิดไฟป่า และปล่อยให้ป่าได้ค่อยๆ ฟื้นตัวเองตามธรรมชาติ เมื่อทิ้งช่วงเวลาไว้ระยะหนึ่ง พรรณไม้ต่างๆ ก็จะค่อยเจริญเติบโตขึ้นเป็นสภาพป่าที่หนาทึบและสมบูรณ์ในอนาคต

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานคำแนะนำถึงพันธุ์ไม้ที่จะนำมาปลูกป่าบนที่สูงนี้ว่า ควรเป็นพันธุ์ไม้ดั้งเดิมของภูมิประเทศนั้นๆ เป็นไม้มีเมล็ด ไม่ผลัดใบง่ายราคาถูก เช่น กระถินยักษ์ กระถินณรงค์ ไทร หว้า ตะขบ ฯลฯ รวมถึงทรงชี้แนะว่าเมล็ดของพันธุ์ไม้เหล่านี้ยังเป็นอาหารของสัตว์ป่า เท่ากับมีคุณูปการไปถึงการอนุรักษ์สัตว์ป่าด้วย

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานคำแนะนำให้มีการปลูกป่าทดแทนตามสภาพภูมิศาสตร์ และสภาวะแวดล้อมของพื้นที่ที่เหมาะสม กล่าวคือ

1) ปลูกป่าทดแทนในพื้นที่ป่าไม้ถูกบุกรุกแผ้วถางและพื้นที่ป่าไม้และพื้นที่เสื่อมโทรม “...การปลูกป่าทดแทนในพื้นที่เสื่อมโทรมหรือพื้นที่ต้นน้ำลำธารที่ถูกบุกรุกแผ้วถางจนเป็นภูเขาหัวโล้น แล้วจำต้องปลูกป่า ทดแทนเร่งด่วนนั้น ควรจะทดลองปลูกต้นไม้ชนิดโตเร็วคลุมแนวร่องน้ำเสียก่อน เพื่อทำให้ความชุ่มชื้นค่อยๆ ทวีขึ้นแผ่ขยายออกไปทั้งสองร่องน้ำ ซึ่งจะทำให้ต้นไม้งอกงามและมีส่วนช่วยป้องกันไฟป่า เพราะไฟจะเกิดง่ายหากป่าขาดความชุ่มชื้น ในปีต่อไปก็ให้ปลูกต้นไม้ในพื้นที่ถัดขึ้นไป ความชุ่มชื้นก็จะแผ่ขยายกว้างออกไป ต้นไม้จะงอกงามดีตลอดทั้งปี...”

2) การปลูกป่าทดแทนตามไหล่เขา “...จะต้องปลูกต้นไม่หลายๆ ชนิด เพื่อให้ได้ประโยชน์เอนกประสงค์ คือ มีทั้งไม้ผล ไม้สำหรับก่อสร้าง และไม้สำหรับทำฟืน ซึ่งเกษตรกรจำเป็นต้องใช้เป็นประจำ ซึ่งเมื่อตัดไม้ใช้แล้ว ก็ปลูกทดแทนหมุนเวียนทันที...”

3) การปลูกป่าทดแทนบริเวณต้นน้ำบนยอดเขาและเนินสูง “...ต้องมีการปลูกป่าโดยปลูกไม้ยืนต้นและปลูกไม้ฟืน ซึ่งไม้ฟืนนั้นราษฎรสามารถตัดไปใช้ได้แต่ต้องมีการปลูกทดแทนเป็นระยะ ส่วนไม้ยืนต้นจะช่วยให้อากาศมีความชุ่มชื้น ทั้งยังช่วยยึดดินบนเขาไม่ให้พังทลายเมื่อเกิดฝนตกอีกด้วย...”

4) ให้มีการปลูกป่าที่ยอดเขา

เนื่องจากสภาพป่าบนที่เขาสูงทรุดโทรม ซึ่งจะมีผลกระทบต่อลุ่มน้ำตอนล่าง และคัดเลือกพันธุ์ไม้ที่มีเมล็ดเป็นฝัก เพื่อให้เป็นกระบวนการธรรมชาติปลูกต่อไปจนถึงตีนเขา

5) ปลูกป่าบริเวณอ่างเก็บน้ำ หรือเหนืออ่างเก็บน้ำที่ไม่มีความชุ่มชื้นยาวนานพอ

6) ปลูกป่าเพื่อพัฒนาลุ่มน้ำและแหล่งน้ำให้มีน้ำสะอาดบริโภค

7) ปลูกป่าให้ราษฎรมีรายได้เพิ่มขึ้น

โดยให้ราษฎรในท้องที่นั้นๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการปลูกและดูแลรักษาต้นไม้ให้เจริญเติบโต นอกจากนี้ยังเป็นการปลูกฝังจิตสำนึกให้ราษฎรเห็นความสำคัญ ของการปลูกป่า

8) ปลูกป่าเสริมธรรมชาติ เพื่อเป็นการเพิ่มที่อยู่อาศัยแกสัตว์ป่า

บัดนี้ ในหลายโครงการที่เป็นการปลูกป่าทดแทนตามแนวพระราชดำริได้บรรลุผลสัมฤทธิ์น่าพึงพอใจ อาทิเช่น โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา แม่ฟ้าหลวงที่ดอยตุง จังหวัดเชียงราย และที่หนองพลับ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โครงการปลูกสร้างสวนป่าในศูนย์ศึกษาการพัฒนาต่างๆ โครงการสวนป่าสิริเจริญวรรษ จังหวัดชลบุรี โครงการปลูกป่าห้วยองคต จังหวัดกาญจนบุรี โครงการปลูกป่าเสริมธรรมชาติในและนอกเขตภูพานราชนิเวศน์ จังหวัดสกลนคร เป็นต้น



ข้อมูลจาก หนังสืออันเนื่องมาจากพระมหากรุณาธิคุณ
จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ