ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังคมสงเคราะห์"

 
(ไม่แสดง 14 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
<center>'''พระราชกรณียกิจด้านสังคมสงเคราะห์'''<br>[[ภาพ:สังคมสงเคราะห์.jpg|center]]
+
<div id="bg_g3t">&nbsp;</div>
</center>
+
<div id="bg_g3">
 +
<center><h1>พระราชกรณียกิจด้านสังคมสงเคราะห์</h1></center>
  
==<div style="color:red">'''พุทธศักราช ๒๕๐๕ มูลนิธิราชประชานุเคราะห์  '''</div>==
+
[[ภาพ:สังคมสงเคราะห์.jpg|ในหลวงเสด็จพระราชดำเนินท้องถิ่นธุรกันดาร|center]]
<div style="display:table">
 
[[ภาพ:ตะลุมพุก.jpg|เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรสิ่งของ ที่ผู้มีจิตศรัทธาบริจาคเพื่อช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย <br>ณ อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช|frame|left]]พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ขึ้นตั้งแต่เมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๐๕ เพื่อช่วยเหลือราษฎรที่ปรสบความเดือดร้อนจากเหตุการณ์วาตภัยและอุทกภัยขึ้นที่แหลมตะลุมพุก จังหวัดนครศรีธรรมราชทำให้ต้องสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินไปเป็นจำนวนมาก
 
  
  
ในเหตุการณ์ครั้งนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้นำในการให้ความช่วยเหลือทันที โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถานีวิทยุ อ.ส พระราชวังดุสิตประกาศให้ประชาชนทราบข่าว และเชิญชวนบริจาคเงินและสิ่งของเพื่อส่งไปช่วยเหลือผู้ประสบเคราะห์กรรม ปรากฏว่ามีผู้ร่วมบริจาคเงินโดยเสด็จพระราชกุศล ประมาณ ๑๑ ล้านบาท พระองค์ได้พระราชทานเงินทั้งหมดให้กรมประชาสงเคราะห์ นำไปดำเนินการช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่อไป ปรากฏว่าหลังการให้ความช่วยเหลือ ยังคงมีเงินเหลืออยู่อีกประมาณ ๓ ล้านบาท จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นำไปจัดตั้งมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ หมายถึง มูลนิธิที่พระมหากษัตริย์และประชาชนร่วมกันจัดตั้งขึ้น มีวัตถุประสงค์ เพื่อสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยโดยฉับพลันทั่วประเทศ ในลักษณะการช่วยเหลือเฉพาะหน้าเกี่ยวกับเครื่องอุปโภคบริโภค และสิ่งของที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิต
+
===พุทธศักราช ๒๕๐๕ มูลนิธิราชประชานุเคราะห์===
 +
<div style="display:table">
 +
[[ภาพ:ตะลุมพุก.jpg|เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรสิ่งของ ที่ผู้มีจิตศรัทธาบริจาคเพื่อช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย <br>ณ อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช|frame|left]]<div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ขึ้นตั้งแต่เมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๐๕ เพื่อช่วยเหลือราษฎรที่ปรสบความเดือดร้อนจากเหตุการณ์วาตภัยและอุทกภัยขึ้นที่แหลมตะลุมพุก จังหวัดนครศรีธรรมราชทำให้ต้องสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินไปเป็นจำนวนมาก
 +
<div class="kindent">ในเหตุการณ์ครั้งนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้นำในการให้ความช่วยเหลือทันที โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถานีวิทยุ อ.ส พระราชวังดุสิตประกาศให้ประชาชนทราบข่าว และเชิญชวนบริจาคเงินและสิ่งของเพื่อส่งไปช่วยเหลือผู้ประสบเคราะห์กรรม ปรากฏว่ามีผู้ร่วมบริจาคเงินโดยเสด็จพระราชกุศล ประมาณ ๑๑ ล้านบาท พระองค์ได้พระราชทานเงินทั้งหมดให้กรมประชาสงเคราะห์ นำไปดำเนินการช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่อไป ปรากฏว่าหลังการให้ความช่วยเหลือ ยังคงมีเงินเหลืออยู่อีกประมาณ ๓ ล้านบาท จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นำไปจัดตั้งมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ หมายถึง มูลนิธิที่พระมหากษัตริย์และประชาชนร่วมกันจัดตั้งขึ้น มีวัตถุประสงค์ เพื่อสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยโดยฉับพลันทั่วประเทศ ในลักษณะการช่วยเหลือเฉพาะหน้าเกี่ยวกับเครื่องอุปโภคบริโภค และสิ่งของที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิต</div>
 +
<div class="kindent">๒๓ สิงหาคม ๒๕๐๖ เริ่มกิจการ "มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์" เพื่อช่วยบรรเทาทุกข์แก่ประชาชนผู้ที่ได้รับความทุกข์ยากเดือดร้อนจากเหตุสาธารณภัยต่างๆ อย่างทันท่วงที ตลอดจนสงเคราะห์เรื่องทุนการศึกษา อุปกรณ์การศึกษา และโรงเรียน</div>
 +
[[ภาพ:สังคมสงเคราะห์2.jpg|frame|400px|พุทธศักราช ๒๕๐๖  ทรงจัดตั้งมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ และพระราชทานสิ่งของแก่ผู้ประสบภัย]]
  
 
</div>
 
</div>
  
 +
<div class="kindent" style="clear:both"><span style="color:darkgreen">"ให้ไปให้ความอบอุ่น ไปช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก โดยฉับพลัน ทำให้ผู้ประสบภัยได้รับความช่วยเหลือ มีกำลังใจที่จะปฏิบัติงานต่อไป"</span></div>
 +
<div class="kindent"><span style="color:darkgreen">
 +
"การช่วยผู้ที่ประสบภัยนั้นจะต้องช่วยในระยะสั้น หมายความว่า เป็นเวลาที่ฉุกเฉินต้องช่วยโดยเร็ว และต่อไปก็จะต้องช่วยให้ต่อเนื่อง...ส่วนเรื่องการช่วยเหลือระยะยาวก็มีความจำเป็นเหมือนกัน...เป็นผลว่าเขาได้รับการดูแล เหลียวแลมาจนกระทั่งได้รับการศึกษาที่สามารถทำมาหากินได้โดยสุจริต โดยมีประสิทธิภาพ เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ..." </span>พระราชดำรัส เมื่อวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๓๙ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา</div>
 +
</div>
  
 
<div style="display:table">
 
<div style="display:table">
[[ภาพ:โรงเรียนราชประชานุเคราะห์.jpg|frame|center|พระราชทานพระราชดำรัสให้จัดตั้งโรงเรียนราชประชานุเคราะห์และเสด็จฯ ไปพระราชทานสิ่งของแก่เด็กนักเรียน]]ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ให้สร้างโรงเรียนประชาบาล ที่ถูกพายุแฮเรียตพัดพัง รวม ๑๒ โรงเรียนใน ๒ จังหวัดภาคใต้ และพระราชทานชื่อว่า "โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ถึง ๑๒ ตามลำดับ" และได้พระราชทานโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ให้แก่ผู้ประสบภัยอีกหลายแห่งในระยะต่อมา รวมจำนวน ๓๙ แห่ง
+
[[ภาพ:โรงเรียนราชประชานุเคราะห์.jpg|frame|center|พระราชทานพระราชดำรัสให้จัดตั้งโรงเรียนราชประชานุเคราะห์และเสด็จฯ ไปพระราชทานสิ่งของแก่เด็กนักเรียน]]<div class="kindent">ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ให้สร้างโรงเรียนประชาบาล ที่ถูกพายุแฮเรียตพัดพัง รวม ๑๒ โรงเรียนใน ๒ จังหวัดภาคใต้ และพระราชทานชื่อว่า "โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ถึง ๑๒ ตามลำดับ" และได้พระราชทานโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ให้แก่ผู้ประสบภัยอีกหลายแห่งในระยะต่อมา รวมจำนวน ๓๙ แห่ง</div>
  
<span style="color:#4C5714">"... ผู้ที่ประสบภัยโดยเฉพาะเด็กๆ ได้สูญเสียทั้งโรงเรียน ทั้งผู้อุปการะฉะนั้นได้ตั้งนโยบายที่จะช่วยเหลือเด็ก ที่เป็นกำพร้าจากภัยธรรมชาติเหล่านั้น เลยตั้งโรงเรียนและได้อุปการะเด็กให้มีที่เรียน และมีผู้ปกครองคือมูลนิธิ ให้สามารถที่จะเรียนตั้งแต่ชั้นเล็กๆ จนกระทั่งจบโรงเรียนมัธยม มีบางรายก็ได้สนับสนุนจะกระทั่งถึงขั้นอุดมศึกษาและเลยไปก็ได้..."</span> พระราชดำรัสเมื่อวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๓๓ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา
+
<span style="color:darkgreen">"... ผู้ที่ประสบภัยโดยเฉพาะเด็กๆ ได้สูญเสียทั้งโรงเรียน ทั้งผู้อุปการะฉะนั้นได้ตั้งนโยบายที่จะช่วยเหลือเด็ก ที่เป็นกำพร้าจากภัยธรรมชาติเหล่านั้น เลยตั้งโรงเรียนและได้อุปการะเด็กให้มีที่เรียน และมีผู้ปกครองคือมูลนิธิ ให้สามารถที่จะเรียนตั้งแต่ชั้นเล็กๆ จนกระทั่งจบโรงเรียนมัธยม มีบางรายก็ได้สนับสนุนจะกระทั่งถึงขั้นอุดมศึกษาและเลยไปก็ได้..."</span> พระราชดำรัสเมื่อวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๓๓ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา
 
</div>
 
</div>
  
 +
===พุทธศักราช ๒๕๐๖ มูลนิธิราชประชาสมาสัย===
 +
 +
[[ภาพ:โรงเรียนราชประชาสมาสัย.jpg|right|frame|เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรการเรียนการสอนของ โรงเรียนที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งขึ้นสำหรับสอนบุตรหลาน ของผู้ป่วยโรคเรื้อน]]<div class="kindent">หลังจากก่อสร้างสถาบัน "ราชประชาสมาสัย" เมื่อปี ๒๕๐๓ เพื่อเป็นสถานฝึกอบรมและค้นคว้าเกี่ยวกับโรคเรื้อน ได้พระราชทานเงินที่เหลือเป็นกองทุนก่อตั้ง "มูลนิธิราชประชาสมาสัย" เพื่อช่วเหลือกิจการด้านค้นคว้าป้องกันรักษาและสงเคราะห์ผู้ป่วยโรคเรื้อน</div>
  
==<div style="color:red">'''พุทธศักราช ๒๕๐๖ มูลนิธิราชประชาสมาสัย'''</div>==
+
<div class="kindent">[[การแพทย์|"ราชประชาสมาสัย"]] หมายถึง พระมหากษัตริย์และประชาชนย่อมพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน</div>
<span class="kindent">หลังจากก่อสร้างสถาบัน "ราชประชาสมาสัย" เมื่อปี ๒๕๐๓ เพื่อเป็นสถานฝึกอบรมและค้นคว้าเกี่ยวกับโรคเรื้อน ได้พระราชทานเงินที่เหลือเป็นกองทุนก่อตั้ง "มูลนิธิราชประชาสมาสัย" เพื่อช่วเหลือกิจการด้านค้นคว้าป้องกันรักษาและสงเคราะห์ผู้ป่วยโรคเรื้อน</span>
 
  
<span class="kindent">"ราชประชาสมาสัย" หมายถึง พระมหากษัตริย์และประชาชนย่อมพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน</span>
+
<div class="kindent">ต่อมาในปี ๒๕๐๖ ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จัดสร้างโรงเรียนสำหรับบุตรผู่ป่วยโรคเรื้อน ที่เลี้ยงแยกกับบิดามารดาแต่แรกเกิดและไม่มีโรคเรื้อน แต่พระราชบัญญัติควบคุมโรคติดต่อบังคับมิให้โรงเรียนใดรับเป็นนักเรียน ดังนั้น เพื่อความเป็นธรรม จึงได้จัดสร้างโรงเรียนให้แก่เด็กผู้ด้อยโอกาสเหล่านั้น และพระราชทานชื่อโรงเรียนว่า<span style="color:#4C5714">"โรงเรียนราชประชาสมาสัย"</span></div>
  
<div class="kindent">ต่อมาในปี ๒๕๐๖ ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดสร้างโรงเรียนสำหรับบุตรผู่ป่วยโรคเรื้อนที่เลี้ยงแยกกับบิดามารดาแต่แรกเกิดและไม่มีโรคเรื้อน แต่พระราชบัญญัติควบคุมโรคติดต่อบังคับมิให้โรงเรียนใดรับเป็นนักเรียน ดังนั้น เพื่อความเป็นธรรม จึงได้จัดสร้างโรงเรียนให้แก่เด็กผู้ด้อยโอกาสเหล่านั้น และพระราชทานชื่อโรงเรียนว่า<span style="color:#4C5714">"โรงเรียนราชประชาสมาสัย"</span></div>
+
<div class="kindent" style="clear:both">
<div class="kindent">
+
<span style="color:darkgreen">"...การทำงานสำคัญ ๆ จำเป็นจะต้องอาศัยความตั้งใจจริง และความเพียรพยายามอย่างสม่ำเสมอไม่ย่อท้อ ยิ่งเป็นงานอบรมสั่งสอนเด็กที่ต้องกระทำต่อเนื่องกันอย่างไม่ขาดสาย ยิ่งจำเป็นที่ท่านจะต้องรักษาความตั้งใจ ความอุตสาหะ ความเพียรไว้ให้มั่นคงที่สุด จึงจะสามารถก้าวไปถึงจุดหมายโดยสมบูรณ์บริบูรณ์ได้..."</span> พระราชดำรัสคราวเสด็จฯ ไปทรงเปิดอาคารเรียน อาคาร ๑๐ ปี ในปี พ.ศ.๒๕๑๔</div>
<span style="color:#4C5714">"...การทำงานสำคัญ ๆ จำเป็นจะต้องอาศัยความตั้งใจจริง และความเพียรพยายามอย่างสม่ำเสมอไม่ย่อท้อ ยิ่งเป็นงานอบรมสั่งสอนเด็กที่ต้องกระทำต่อเนื่องกันอย่างไม่ขาดสาย ยิ่งจำเป็นที่ท่านจะต้องรักษาความตั้งใจ ความอุตสาหะ ความเพียรไว้ให้มั่นคงที่สุด จึงจะสามารถก้าวไปถึงจุดหมายโดยสมบูรณ์บริบูรณ์ได้..."</span> พระราชดำรัสคราวเสด็จฯ ไปทรงเปิดอาคารเรียน อาคาร ๑๐ ปี ในปี พ.ศ.๒๕๑๔</div>
 
  
  
 
----
 
----
 
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.2}}
 
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.2}}
 +
</div>
  
 
+
[[หมวดหมู่:ทุน-มูลนิธิ-การศึกษา]]
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]]
 

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:31, 7 พฤศจิกายน 2551

 

พระราชกรณียกิจด้านสังคมสงเคราะห์

ในหลวงเสด็จพระราชดำเนินท้องถิ่นธุรกันดาร


พุทธศักราช ๒๕๐๕ มูลนิธิราชประชานุเคราะห์

เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรสิ่งของ ที่ผู้มีจิตศรัทธาบริจาคเพื่อช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย
ณ อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ขึ้นตั้งแต่เมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๐๕ เพื่อช่วยเหลือราษฎรที่ปรสบความเดือดร้อนจากเหตุการณ์วาตภัยและอุทกภัยขึ้นที่แหลมตะลุมพุก จังหวัดนครศรีธรรมราชทำให้ต้องสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินไปเป็นจำนวนมาก
ในเหตุการณ์ครั้งนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้นำในการให้ความช่วยเหลือทันที โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถานีวิทยุ อ.ส พระราชวังดุสิตประกาศให้ประชาชนทราบข่าว และเชิญชวนบริจาคเงินและสิ่งของเพื่อส่งไปช่วยเหลือผู้ประสบเคราะห์กรรม ปรากฏว่ามีผู้ร่วมบริจาคเงินโดยเสด็จพระราชกุศล ประมาณ ๑๑ ล้านบาท พระองค์ได้พระราชทานเงินทั้งหมดให้กรมประชาสงเคราะห์ นำไปดำเนินการช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่อไป ปรากฏว่าหลังการให้ความช่วยเหลือ ยังคงมีเงินเหลืออยู่อีกประมาณ ๓ ล้านบาท จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นำไปจัดตั้งมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ หมายถึง มูลนิธิที่พระมหากษัตริย์และประชาชนร่วมกันจัดตั้งขึ้น มีวัตถุประสงค์ เพื่อสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยโดยฉับพลันทั่วประเทศ ในลักษณะการช่วยเหลือเฉพาะหน้าเกี่ยวกับเครื่องอุปโภคบริโภค และสิ่งของที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิต
๒๓ สิงหาคม ๒๕๐๖ เริ่มกิจการ "มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์" เพื่อช่วยบรรเทาทุกข์แก่ประชาชนผู้ที่ได้รับความทุกข์ยากเดือดร้อนจากเหตุสาธารณภัยต่างๆ อย่างทันท่วงที ตลอดจนสงเคราะห์เรื่องทุนการศึกษา อุปกรณ์การศึกษา และโรงเรียน
พุทธศักราช ๒๕๐๖ ทรงจัดตั้งมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ และพระราชทานสิ่งของแก่ผู้ประสบภัย
"ให้ไปให้ความอบอุ่น ไปช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก โดยฉับพลัน ทำให้ผู้ประสบภัยได้รับความช่วยเหลือ มีกำลังใจที่จะปฏิบัติงานต่อไป"
"การช่วยผู้ที่ประสบภัยนั้นจะต้องช่วยในระยะสั้น หมายความว่า เป็นเวลาที่ฉุกเฉินต้องช่วยโดยเร็ว และต่อไปก็จะต้องช่วยให้ต่อเนื่อง...ส่วนเรื่องการช่วยเหลือระยะยาวก็มีความจำเป็นเหมือนกัน...เป็นผลว่าเขาได้รับการดูแล เหลียวแลมาจนกระทั่งได้รับการศึกษาที่สามารถทำมาหากินได้โดยสุจริต โดยมีประสิทธิภาพ เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ..." พระราชดำรัส เมื่อวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๓๙ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา
พระราชทานพระราชดำรัสให้จัดตั้งโรงเรียนราชประชานุเคราะห์และเสด็จฯ ไปพระราชทานสิ่งของแก่เด็กนักเรียน
ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ให้สร้างโรงเรียนประชาบาล ที่ถูกพายุแฮเรียตพัดพัง รวม ๑๒ โรงเรียนใน ๒ จังหวัดภาคใต้ และพระราชทานชื่อว่า "โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ถึง ๑๒ ตามลำดับ" และได้พระราชทานโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ให้แก่ผู้ประสบภัยอีกหลายแห่งในระยะต่อมา รวมจำนวน ๓๙ แห่ง

"... ผู้ที่ประสบภัยโดยเฉพาะเด็กๆ ได้สูญเสียทั้งโรงเรียน ทั้งผู้อุปการะฉะนั้นได้ตั้งนโยบายที่จะช่วยเหลือเด็ก ที่เป็นกำพร้าจากภัยธรรมชาติเหล่านั้น เลยตั้งโรงเรียนและได้อุปการะเด็กให้มีที่เรียน และมีผู้ปกครองคือมูลนิธิ ให้สามารถที่จะเรียนตั้งแต่ชั้นเล็กๆ จนกระทั่งจบโรงเรียนมัธยม มีบางรายก็ได้สนับสนุนจะกระทั่งถึงขั้นอุดมศึกษาและเลยไปก็ได้..." พระราชดำรัสเมื่อวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๓๓ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา

พุทธศักราช ๒๕๐๖ มูลนิธิราชประชาสมาสัย

เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรการเรียนการสอนของ โรงเรียนที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งขึ้นสำหรับสอนบุตรหลาน ของผู้ป่วยโรคเรื้อน
หลังจากก่อสร้างสถาบัน "ราชประชาสมาสัย" เมื่อปี ๒๕๐๓ เพื่อเป็นสถานฝึกอบรมและค้นคว้าเกี่ยวกับโรคเรื้อน ได้พระราชทานเงินที่เหลือเป็นกองทุนก่อตั้ง "มูลนิธิราชประชาสมาสัย" เพื่อช่วเหลือกิจการด้านค้นคว้าป้องกันรักษาและสงเคราะห์ผู้ป่วยโรคเรื้อน
"ราชประชาสมาสัย" หมายถึง พระมหากษัตริย์และประชาชนย่อมพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
ต่อมาในปี ๒๕๐๖ ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จัดสร้างโรงเรียนสำหรับบุตรผู่ป่วยโรคเรื้อน ที่เลี้ยงแยกกับบิดามารดาแต่แรกเกิดและไม่มีโรคเรื้อน แต่พระราชบัญญัติควบคุมโรคติดต่อบังคับมิให้โรงเรียนใดรับเป็นนักเรียน ดังนั้น เพื่อความเป็นธรรม จึงได้จัดสร้างโรงเรียนให้แก่เด็กผู้ด้อยโอกาสเหล่านั้น และพระราชทานชื่อโรงเรียนว่า"โรงเรียนราชประชาสมาสัย"
"...การทำงานสำคัญ ๆ จำเป็นจะต้องอาศัยความตั้งใจจริง และความเพียรพยายามอย่างสม่ำเสมอไม่ย่อท้อ ยิ่งเป็นงานอบรมสั่งสอนเด็กที่ต้องกระทำต่อเนื่องกันอย่างไม่ขาดสาย ยิ่งจำเป็นที่ท่านจะต้องรักษาความตั้งใจ ความอุตสาหะ ความเพียรไว้ให้มั่นคงที่สุด จึงจะสามารถก้าวไปถึงจุดหมายโดยสมบูรณ์บริบูรณ์ได้..." พระราชดำรัสคราวเสด็จฯ ไปทรงเปิดอาคารเรียน อาคาร ๑๐ ปี ในปี พ.ศ.๒๕๑๔



ข้อมูลจาก หนังสือ ๘๐ พรรษา ปวงประชาสุขศานต์ จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ