ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแพทย์"

(<div style="color:red">'''พุทธศักราช ๒๔๙๖ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่หน่วยแรก'''</div>)
แถว 1: แถว 1:
==<div style="color:red">'''แรกพระราชดำริสาธารณสุข : ทรงห่วงใยด้านสุขภาพอนามัย'''</div> ==
+
__NOTOC__
 +
==='''แรกพระราชดำริสาธารณสุข : ทรงห่วงใยด้านสุขภาพอนามัย'''===
 +
 
  
<table width="100%" border="0">
 
<tr>
 
<td>
 
<div style="display:table; clear:both">
 
 
[[ภาพ:อาคารมหิดลวงศานุสรณ์.jpg|200px|left]]<div class="kindent">เมื่อเสด็จนิวัตประเทศไทย ในปี พ.ศ.๒๔๙๓ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงนำยารักษาวัฒโรคขนานใหม่มาพระราชทานแก่กระทรวงสาธารณสุข และได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้าง "อาคารมหิดลวงศานุสรณ์" บริเวณถานเสาวภา สำหรับใช้ในการผลิตวัคซีน บีซีจี ซึ่งเป็นยาฉีดให้แก่เด็กเพื่อป้องกันวัณโรค ต่อมายานี้ใช้ป้องกันโรคเรื้อนได้อีกด้วย</div>
 
[[ภาพ:อาคารมหิดลวงศานุสรณ์.jpg|200px|left]]<div class="kindent">เมื่อเสด็จนิวัตประเทศไทย ในปี พ.ศ.๒๔๙๓ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงนำยารักษาวัฒโรคขนานใหม่มาพระราชทานแก่กระทรวงสาธารณสุข และได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้าง "อาคารมหิดลวงศานุสรณ์" บริเวณถานเสาวภา สำหรับใช้ในการผลิตวัคซีน บีซีจี ซึ่งเป็นยาฉีดให้แก่เด็กเพื่อป้องกันวัณโรค ต่อมายานี้ใช้ป้องกันโรคเรื้อนได้อีกด้วย</div>
  
 
<div class="kgreen">"...การแพทย์และการสาธารณสุขเป็นพื้นฐานที่สำคัญอย่างหนึ่งของการพัฒนาประเทศ ไม่มีประเทศใดในโลกจะเจริญก้าวหน้าได้อย่างสมบูรณ์ หากประชากรในประเทศนั้น ๆ ยังมีสุขภาพพลานามัยไม่ดีพอ..."
 
<div class="kgreen">"...การแพทย์และการสาธารณสุขเป็นพื้นฐานที่สำคัญอย่างหนึ่งของการพัฒนาประเทศ ไม่มีประเทศใดในโลกจะเจริญก้าวหน้าได้อย่างสมบูรณ์ หากประชากรในประเทศนั้น ๆ ยังมีสุขภาพพลานามัยไม่ดีพอ..."
</div>
 
</div>
 
<div style="display:table; clear:both">
 
<div style="color:red">'''พุทธศักราช ๒๔๙๖ จุดเริ่มต้นมาจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จำนวน ๕๐๐,๐๐๐ บาท'''</div>
 
  
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">โครงการพระราชดำริด้านการแพทย์และสาธารณสุข มีจุดเริ่มต้นมาจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จำนวน ๕๐๐,๐๐๐ บาท ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแก่ กองวิทยาศาสตร์สภากาชาดไทย สำหรับนำไปสร้างตึกมหิดลวงศานุสรณ์ ในบริเวณสถานเสาวภา เพื่อใช้ในกิจการทางด้านวิทยาศาสตร์ และในการผลิตวัคซีน บี.ซี.จี. ป้องกันวัณโรค ดังที่ได้มีพระราชปรารภ เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๖ กับหลวงพยุงเวชศาสตร์ ขณะดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมสาธารณสุขความตอนหนึ่งว่า</div>
+
<div style="clear:both"></div>
<p align="center">
+
==='''พุทธศักราช ๒๔๙๖ จุดเริ่มต้นมาจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จำนวน ๕๐๐,๐๐๐ บาท'''===
<div style="color:green; padding-top:15px">
+
[[ภาพ:อาคารอานันทมหิดล.jpg|150px|rightอาคารอานันทมหิดล]]<div class="kindent">โครงการพระราชดำริด้านการแพทย์และสาธารณสุข มีจุดเริ่มต้นมาจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จำนวน ๕๐๐,๐๐๐ บาท ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแก่ กองวิทยาศาสตร์สภากาชาดไทย สำหรับนำไปสร้างตึกมหิดลวงศานุสรณ์ ในบริเวณสถานเสาวภา เพื่อใช้ในกิจการทางด้านวิทยาศาสตร์ และในการผลิตวัคซีน บี.ซี.จี. ป้องกันวัณโรค ดังที่ได้มีพระราชปรารภ เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๖ กับหลวงพยุงเวชศาสตร์ ขณะดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมสาธารณสุขความตอนหนึ่งว่า</div>
"คุณหลวง วัณโรคสมัยนี้มียารักษากันได้เด็ดขาดหรือยัง ยาอะไรขาด ถ้าต้องการฉันจะหาให้อีก ฉันอยากเห็นกิจการแพทย์ของเมืองไทยเจริญมากๆ..."</div></p>
+
 
</div>
+
<div class="kgreen">
<div style="text-indent: 30px; padding-top:30px">ต่อมาได้พระราชทานความช่วยเหลือโดยพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ไปจัดซื้อเครื่องช่วยหายใจ หรือ "ปอดเหล็ก" จากต่างประเทศ จำนวน ๓ เครื่อง ให้กับผู้ป่วยโปลิโอ (โรคไขสันหลังอักเสบ) เพื่อช่วยเหลือคนไข้ที่มีอาการกล้ามเนื้อในการหายใจเป็นอัมพาต อีกทั้งได้พระราชทานเงินจัดตั้ง "ทุนโปลิโอสงเคราะห์" สำหรับช่วยเหลือผู้ป่วยและ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดซื้อเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ในการรักษาโรคพระราชทานไปยังโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เพื่อใช้ในการรักษาพยาบาล ตลอดจนทรงให้การสนับสนุนในการค้นคว้าทางวิชาการและให้ก่อสร้างตึก "วชิราลงกรณธาราบำบัด" ไว้เป็นสถานที่รักษาด้วยวิธีทางกายภาพบำบัด โดยใช้น้ำช่วยพยุงร่างกายระหว่างการบริหารและฟื้นฟูกล้ามเนื้อ</div>
+
"คุณหลวง วัณโรคสมัยนี้มียารักษากันได้เด็ดขาดหรือยัง ยาอะไรขาด ถ้าต้องการฉันจะหาให้อีก ฉันอยากเห็นกิจการแพทย์ของเมืองไทยเจริญมากๆ..."</div>
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">ผลจากการพัฒนาตามแนวพระราชดำริอย่างต่อเนื่องพบว่า ในปัจจุบันไม่มีรายงานการติดเชื้อด้วยโรคโปลิโอ ส่วนวัณโรคนั้น อาจจะยังมีผู้ป่วยด้วยโรคนี้อยู่บ้าง แต่สามารถควบคุมการระบาดของโรคไว้ได้ จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุข ในช่วงเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ มีผู้ป่วยวัณโรคจำนวน ๓,๐๘๑ คน คิดเป็นผู้ป่วย ๔.๙ คนต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน วัณโรคจึงมิใช่เป็นโรคที่มีการแพร่ระบาดอย่างน่าวิตกเช่นครั้งในอดีตอีกต่อไป</div>
+
 
</td><td width="160px">[[ภาพ:อาคารอานันทมหิดล.jpg|150px]]
+
 
</td></tr></table>
+
<div class="kindent">ต่อมาได้พระราชทานความช่วยเหลือโดยพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ไปจัดซื้อเครื่องช่วยหายใจ หรือ "ปอดเหล็ก" จากต่างประเทศ จำนวน ๓ เครื่อง ให้กับผู้ป่วยโปลิโอ (โรคไขสันหลังอักเสบ) เพื่อช่วยเหลือคนไข้ที่มีอาการกล้ามเนื้อในการหายใจเป็นอัมพาต อีกทั้งได้พระราชทานเงินจัดตั้ง "ทุนโปลิโอสงเคราะห์" สำหรับช่วยเหลือผู้ป่วยและ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดซื้อเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ในการรักษาโรคพระราชทานไปยังโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เพื่อใช้ในการรักษาพยาบาล ตลอดจนทรงให้การสนับสนุนในการค้นคว้าทางวิชาการและให้ก่อสร้างตึก "วชิราลงกรณธาราบำบัด" ไว้เป็นสถานที่รักษาด้วยวิธีทางกายภาพบำบัด โดยใช้น้ำช่วยพยุงร่างกายระหว่างการบริหารและฟื้นฟูกล้ามเนื้อ
 +
 
 +
ผลจากการพัฒนาตามแนวพระราชดำริอย่างต่อเนื่องพบว่า ในปัจจุบันไม่มีรายงานการติดเชื้อด้วยโรคโปลิโอ ส่วนวัณโรคนั้น อาจจะยังมีผู้ป่วยด้วยโรคนี้อยู่บ้าง แต่สามารถควบคุมการระบาดของโรคไว้ได้ จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุข ในช่วงเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ มีผู้ป่วยวัณโรคจำนวน ๓,๐๘๑ คน คิดเป็นผู้ป่วย ๔.๙ คนต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน วัณโรคจึงมิใช่เป็นโรคที่มีการแพร่ระบาดอย่างน่าวิตกเช่นครั้งในอดีตอีกต่อไป</div>
 +
 
 +
 
 +
 
 +
<center>[[ภาพ:โปลิโอ1.jpg|ในหลวงเสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรการบริการหยอดยาโปลิโอ]]  [[ภาพ:โปลิโอ2.jpg|ในหลวงทรงหยอดยาโปลิโอแก่เด็ก]]</center>
 +
 
 +
 
  
<p align="center">[[ภาพ:โปลิโอ1.jpg]]  [[ภาพ:โปลิโอ2.jpg]]</p>
+
==='''พุทธศักราช ๒๔๙๖ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่หน่วยแรก'''===
  
<br /><br />
 
  
== <div style="color:red">'''พุทธศักราช ๒๔๙๖ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่หน่วยแรก'''</div>==
+
[[ภาพ:หน่วยแพทย์เคลื่อนที่.jpg|150px|หน่วยแพทย์เคลื่อนที่]]<div class="kindent">เมื่อปี ๒๔๙๖ ขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรที่บ้านปากทวาร ตำบลหินเหล็กไฟ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทรงพบว่าราษฎรที่มาเข้าเฝ้าฯ เป็นไข้จับสั่นและโรคอื่นๆ เป็นจำนวนมาก จึงมีพระราชปรารภว่าในท้องที่ห่างไกลที่แพทย์และพยาบาลเข้าไปไม่ถึงนั้น ราษฎรต้องถูกโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ทั้งๆ ที่โรคที่เป็น สามารถรักษาให้หายได้ไม่ยาก ดังนั้นจึงพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์รวมทั้งอุปกรณ์ทางการแพทย์ ยานพาหนะ และเวชภัณฑ์ ให้แก่กระทรวงสาธารณสุข เพื่อจัดตั้งหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ไปรักษาประชาชนในท้องถิ่นธุรกันดาร เริ่มจากจังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เรียกชื่อว่า '''"หน่วยแพทย์เคลื่อนที่พระราชทาน"''' ต่อมาเมื่อปี ๒๔๙๙ ให้จัดตั้งขึ้นอีก ๒ แห่ง คือ ที่จังหวัดขอนแก่น เพื่อดูแลรักษาผู้เจ็บป่วยในพื้นที่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และพื้นที่จังหวัดยะลาเพื่อดูแลรักษาผู้เจ็บป่วยในพื้นที่ทางภาคใต้
  
<table width="100%" border="0">
+
'''"เรือเวชพาหน์"''' '''หน่วยแพท์ทางน้ำ''' เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ให้ต่อเรือขึ้นลำหนึ่งทำด้วยไม้สักสองชั้น ภายในลำเรือแบ่งพื้นที่เป็นห้องตรวจรักษาโรคต่างๆ พร้อมอุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ เครื่องมือทันตกรรม และเวชภัณฑ์ครบครัน และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโครงการแพทย์หลวงพระราชทาน "เรือเวชพาหน์"  ขึ้น เพื่อออกให้บริการแก่ประชาชนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้ำ ซึ่งการเดินทางโดยรถยนต์ไม่สามารถเข้าถึงได้ นับเป็นเรือบรรเทาทุกข์ และรักษาพยาบาลทางน้ำลำแรกและลำเดียวในโลก ที่ยังคงให้บริการประชาชนอยู่จนถึงทุกวันนี้</div>
<tr><td align="left">[[ภาพ:หน่วยแพทย์เคลื่อนที่.jpg|150px]]<br /><br />[[ภาพ:ทศ3-14.jpg|150px]]<br /><br /><br /><br />[[ภาพ:หน่วยแพทย์เคลื่อนที่3.jpg|150px]]</td>
 
<td align="left">
 
<div style="padding-left:10px; text-indent: 30px;">เมื่อปี ๒๔๙๖ ขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรที่บ้านปากทวาร ตำบลหินเหล็กไฟ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทรงพบว่าราษฎรที่มาเข้าเฝ้าฯ เป็นไข้จับสั่นและโรคอื่นๆ เป็นจำนวนมาก จึงมีพระราชปรารภว่าในท้องที่ห่างไกลที่แพทย์และพยาบาลเข้าไปไม่ถึงนั้น ราษฎรต้องถูกโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ทั้งๆ ที่โรคที่เป็น สามารถรักษาให้หายได้ไม่ยาก ดังนั้นจึงพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์รวมทั้งอุปกรณ์ทางการแพทย์ ยานพาหนะ และเวชภัณฑ์ ให้แก่กระทรวงสาธารณสุข เพื่อจัดตั้งหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ไปรักษาประชาชนในท้องถิ่นธุรกันดาร เริ่มจาก<br />จังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เรียกชื่อว่า '''"หน่วยแพทย์เคลื่อนที่พระราชทาน"''' ต่อมาเมื่อปี ๒๔๙๙ ให้จัดตั้งขึ้นอีก ๒ แห่ง คือ ที่จังหวัดขอนแก่น เพื่อดูแลรักษาผู้เจ็บป่วยในพื้นที่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และพื้นที่จังหวัดยะลาเพื่อดูแลรักษาผู้เจ็บป่วยในพื้นที่ทางภาคใต้
 
'''"เรือเวชพาหน์"''' '''หน่วยแพท์ทางน้ำ''' เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ให้ต่อเรือขึ้นลำหนึ่งทำด้วยไม้สักสองชั้น ภายในลำเรือแบ่งพื้นที่เป็นห้องตรวจรักษาโรคต่างๆ พร้อมอุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ เครื่องมือทันตกรรม และเวชภัณฑ์ครบครัน และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโครงการแพทย์หลวงพระราชทาน "เรือเวชพาหน์"  ขึ้น เพื่อออกให้บริการแก่ประชาชนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้ำ ซึ่งการเดินทางโดยรถยนต์ไม่สามารถเข้าถึงได้ นับเป็นเรือบรรเทาทุกข์ และรักษาพยาบาลทางน้ำลำแรกและลำเดียวในโลก ที่ยังคงให้บริการประชาชนอยู่จนถึงทุกวันนี้</div>
 
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงให้ความสำคัญกับการสาธารณสุขในระยะยาวด้วย โดยทรงสนับสนุนด้านการศึกษาค้นคว้า และการวิจัย ทั้งทรงให้ความสำคัญกับบุคลากรด้านสาธารณสุข และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง "ทุนอานันทมหิดล" ขึ้นเมื่อปี ๒๔๙๘</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงให้ความสำคัญกับการสาธารณสุขในระยะยาวด้วย โดยทรงสนับสนุนด้านการศึกษาค้นคว้า และการวิจัย ทั้งทรงให้ความสำคัญกับบุคลากรด้านสาธารณสุข และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง "ทุนอานันทมหิดล" ขึ้นเมื่อปี ๒๔๙๘</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนเป็น<span style="color:darkblue">'''มูลนิธิอานันทมหิดล'''</span> เพื่อการพิจารณาคัดเลือกบัณฑิตแพทย์ที่มีผลการเรียนยอดเยี่ยม และมีคุณธรรมไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในต่างประเทศ ปัจจุบันมูลนิธิอานันทมหิดลได้ขยายการให้การสนับสนุนการศึกษาในระดับสูงครอบคลุม ๘ สาขาวิชา ในจำนวนดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข ๒ สาขา คือ แผนกแพทยศาสตร์ และแผนกทันตแพทยศาสตร์</div>
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนเป็น<span style="color:darkblue">'''มูลนิธิอานันทมหิดล'''</span> เพื่อการพิจารณาคัดเลือกบัณฑิตแพทย์ที่มีผลการเรียนยอดเยี่ยม และมีคุณธรรมไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในต่างประเทศ ปัจจุบันมูลนิธิอานันทมหิดลได้ขยายการให้การสนับสนุนการศึกษาในระดับสูงครอบคลุม ๘ สาขาวิชา ในจำนวนดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข ๒ สาขา คือ แผนกแพทยศาสตร์ และแผนกทันตแพทยศาสตร์</div>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:14, 21 กรกฎาคม 2551

แรกพระราชดำริสาธารณสุข : ทรงห่วงใยด้านสุขภาพอนามัย

อาคารมหิดลวงศานุสรณ์.jpg
เมื่อเสด็จนิวัตประเทศไทย ในปี พ.ศ.๒๔๙๓ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงนำยารักษาวัฒโรคขนานใหม่มาพระราชทานแก่กระทรวงสาธารณสุข และได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้าง "อาคารมหิดลวงศานุสรณ์" บริเวณถานเสาวภา สำหรับใช้ในการผลิตวัคซีน บีซีจี ซึ่งเป็นยาฉีดให้แก่เด็กเพื่อป้องกันวัณโรค ต่อมายานี้ใช้ป้องกันโรคเรื้อนได้อีกด้วย
"...การแพทย์และการสาธารณสุขเป็นพื้นฐานที่สำคัญอย่างหนึ่งของการพัฒนาประเทศ ไม่มีประเทศใดในโลกจะเจริญก้าวหน้าได้อย่างสมบูรณ์ หากประชากรในประเทศนั้น ๆ ยังมีสุขภาพพลานามัยไม่ดีพอ..."

พุทธศักราช ๒๔๙๖ จุดเริ่มต้นมาจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จำนวน ๕๐๐,๐๐๐ บาท

rightอาคารอานันทมหิดล
โครงการพระราชดำริด้านการแพทย์และสาธารณสุข มีจุดเริ่มต้นมาจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จำนวน ๕๐๐,๐๐๐ บาท ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแก่ กองวิทยาศาสตร์สภากาชาดไทย สำหรับนำไปสร้างตึกมหิดลวงศานุสรณ์ ในบริเวณสถานเสาวภา เพื่อใช้ในกิจการทางด้านวิทยาศาสตร์ และในการผลิตวัคซีน บี.ซี.จี. ป้องกันวัณโรค ดังที่ได้มีพระราชปรารภ เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๖ กับหลวงพยุงเวชศาสตร์ ขณะดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมสาธารณสุขความตอนหนึ่งว่า
"คุณหลวง วัณโรคสมัยนี้มียารักษากันได้เด็ดขาดหรือยัง ยาอะไรขาด ถ้าต้องการฉันจะหาให้อีก ฉันอยากเห็นกิจการแพทย์ของเมืองไทยเจริญมากๆ..."


ต่อมาได้พระราชทานความช่วยเหลือโดยพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ไปจัดซื้อเครื่องช่วยหายใจ หรือ "ปอดเหล็ก" จากต่างประเทศ จำนวน ๓ เครื่อง ให้กับผู้ป่วยโปลิโอ (โรคไขสันหลังอักเสบ) เพื่อช่วยเหลือคนไข้ที่มีอาการกล้ามเนื้อในการหายใจเป็นอัมพาต อีกทั้งได้พระราชทานเงินจัดตั้ง "ทุนโปลิโอสงเคราะห์" สำหรับช่วยเหลือผู้ป่วยและ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดซื้อเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ในการรักษาโรคพระราชทานไปยังโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เพื่อใช้ในการรักษาพยาบาล ตลอดจนทรงให้การสนับสนุนในการค้นคว้าทางวิชาการและให้ก่อสร้างตึก "วชิราลงกรณธาราบำบัด" ไว้เป็นสถานที่รักษาด้วยวิธีทางกายภาพบำบัด โดยใช้น้ำช่วยพยุงร่างกายระหว่างการบริหารและฟื้นฟูกล้ามเนื้อ ผลจากการพัฒนาตามแนวพระราชดำริอย่างต่อเนื่องพบว่า ในปัจจุบันไม่มีรายงานการติดเชื้อด้วยโรคโปลิโอ ส่วนวัณโรคนั้น อาจจะยังมีผู้ป่วยด้วยโรคนี้อยู่บ้าง แต่สามารถควบคุมการระบาดของโรคไว้ได้ จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุข ในช่วงเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ มีผู้ป่วยวัณโรคจำนวน ๓,๐๘๑ คน คิดเป็นผู้ป่วย ๔.๙ คนต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน วัณโรคจึงมิใช่เป็นโรคที่มีการแพร่ระบาดอย่างน่าวิตกเช่นครั้งในอดีตอีกต่อไป


ในหลวงเสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรการบริการหยอดยาโปลิโอ ในหลวงทรงหยอดยาโปลิโอแก่เด็ก


พุทธศักราช ๒๔๙๖ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่หน่วยแรก

หน่วยแพทย์เคลื่อนที่
เมื่อปี ๒๔๙๖ ขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรที่บ้านปากทวาร ตำบลหินเหล็กไฟ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทรงพบว่าราษฎรที่มาเข้าเฝ้าฯ เป็นไข้จับสั่นและโรคอื่นๆ เป็นจำนวนมาก จึงมีพระราชปรารภว่าในท้องที่ห่างไกลที่แพทย์และพยาบาลเข้าไปไม่ถึงนั้น ราษฎรต้องถูกโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ทั้งๆ ที่โรคที่เป็น สามารถรักษาให้หายได้ไม่ยาก ดังนั้นจึงพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์รวมทั้งอุปกรณ์ทางการแพทย์ ยานพาหนะ และเวชภัณฑ์ ให้แก่กระทรวงสาธารณสุข เพื่อจัดตั้งหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ไปรักษาประชาชนในท้องถิ่นธุรกันดาร เริ่มจากจังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เรียกชื่อว่า "หน่วยแพทย์เคลื่อนที่พระราชทาน" ต่อมาเมื่อปี ๒๔๙๙ ให้จัดตั้งขึ้นอีก ๒ แห่ง คือ ที่จังหวัดขอนแก่น เพื่อดูแลรักษาผู้เจ็บป่วยในพื้นที่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และพื้นที่จังหวัดยะลาเพื่อดูแลรักษาผู้เจ็บป่วยในพื้นที่ทางภาคใต้ "เรือเวชพาหน์" หน่วยแพท์ทางน้ำ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ให้ต่อเรือขึ้นลำหนึ่งทำด้วยไม้สักสองชั้น ภายในลำเรือแบ่งพื้นที่เป็นห้องตรวจรักษาโรคต่างๆ พร้อมอุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ เครื่องมือทันตกรรม และเวชภัณฑ์ครบครัน และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโครงการแพทย์หลวงพระราชทาน "เรือเวชพาหน์" ขึ้น เพื่อออกให้บริการแก่ประชาชนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้ำ ซึ่งการเดินทางโดยรถยนต์ไม่สามารถเข้าถึงได้ นับเป็นเรือบรรเทาทุกข์ และรักษาพยาบาลทางน้ำลำแรกและลำเดียวในโลก ที่ยังคงให้บริการประชาชนอยู่จนถึงทุกวันนี้
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงให้ความสำคัญกับการสาธารณสุขในระยะยาวด้วย โดยทรงสนับสนุนด้านการศึกษาค้นคว้า และการวิจัย ทั้งทรงให้ความสำคัญกับบุคลากรด้านสาธารณสุข และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง "ทุนอานันทมหิดล" ขึ้นเมื่อปี ๒๔๙๘
ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนเป็นมูลนิธิอานันทมหิดล เพื่อการพิจารณาคัดเลือกบัณฑิตแพทย์ที่มีผลการเรียนยอดเยี่ยม และมีคุณธรรมไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในต่างประเทศ ปัจจุบันมูลนิธิอานันทมหิดลได้ขยายการให้การสนับสนุนการศึกษาในระดับสูงครอบคลุม ๘ สาขาวิชา ในจำนวนดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข ๒ สาขา คือ แผนกแพทยศาสตร์ และแผนกทันตแพทยศาสตร์


ผู้มีจิตศรัทธาบริจาคสมทบทุนโดยเสด็จพระราชกุศลได้เป็นรายบุคคลหรือเป็นคณะ

โดยเสด็จพระราชกุศล สมทบทุนมูลนิธิอานันทมหิดล ได้ที่สำนักงานพระคลังข้างที่ ในพระบรมมหาราชวัง

โทรศัพท์ 222-0859, 224-3288 โทรสาร 226-2909, 224-9858

รายละเอียดเกี่ยวกับการพระราชทานทุน และการดำเนินงานของมูลนิธิฯ สอบถามได้ที่

สำนักงานประสานงานของมูลนิธิอานันทมหิดล ตั้งอยู่ที่ สำนักงานเลขาธิการองคมนตรี ศาลาลูกขุนใน พระบรมมหาราชวัง

โทรศัพท์ 623-5833-4 โทรสาร 623-5835


มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล - http://www.princemahidolaward.org/about.th.php



พุทธศักราช ๒๔๙๘ โรคเรื้อนระบาด

เสด็จฯ ไปทรงประกอบพิธีเปิดอาคาร สถาบันราชประชาสมาสัย เมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๐๓

เมื่อปี ๒๔๙๘ มีการแพร่ระบาดของโรคเรื้อนเกิดขึ้นอย่างมาก กระทรวงสาธารณสุขจึงร่วมกับองค์การอนามัยโลก (WHO) จัดทำโครงการควบคุมโรคดังกล่าวขึ้น ซึ่งตามโครงการดังกล่าวต้องใช้เวลาถึง ๑๒ ปี เพื่อหยุดการระบาดของโรคนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเห็นว่าเป็นเวลาที่นานเกินไป จึงทรงให้เร่งรัดโครงการให้เหลือ ๘ ปี และทรงรับโครงการควบคุมโรคเรื้อนของกระทรวงสาธารณสุขไว้เป็นโครงการในพระราชดำริ รวมทั้งให้จัดตั้ง "สถาบันราชประชาสมาสัย" ขึ้นที่อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อทำหน้าที่ดูแลให้การบำบัดฟื้นฟู และค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับโรคเรื้อน รวมทั้งฝึกอาชีพให้ผู้ป่วยด้วย และได้พระราชทานเงินทุนอานันทมหิดล สร้างอาคาร ๔ หลัง ในบริเวณสถานพยาบาลพระประแดง เพื่อใช้เป็นสถานศึกษาอบรมเจ้าหน้าที่ในการบำบัดโรคเรื้อน โดยเริ่มเปิดใช้งานเมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๐๓ ปัจจุบันตามรายงานสถานการณ์โรคเรื้อนของสถาบันราชประชาสมาสัย เมื่อปี ๒๕๔๘ ปรากฎว่ามีผู้ป่วยโรคเรื้อนมาขึ้นทะเบียนรักษาทั่วประเทศจำนวน ๑,๕๖๐ คน ซึ่งในอดีตจะมีผู้ป่วยโรคนี้ ๕๐ คนต่อประชากร ๑๐,๐๐๐ คน



พุทธศักราช ๒๕๑๐ โรคอหิวาตกโรคระบาด

เมื่อปี ๒๕๐๑ ได้เกิดอหิวาตกโรคระบาดอย่างรุนแรงขึ้นในพื้นที่กรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตนับร้อยเนื่องจากไม่มีวัคซีน ประการสำคัญคือขาดแคลน น้ำเกลือ เพราะน้ำเกลือที่ผลิตในประเทศยังไม่ได้มาตรฐาน ต้องสั่งเข้าจากต่างประเทศในราคาแพง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริให้ศึกษาเส้นทางเกลือ เพื่อค้นคว้าวิธีผลิตน้ำเกลือที่มีคุณภาพสำหรับใช้ภายในประเทศขึ้น สั่งพระราชดำรัสความตอนหนึ่งหว่า


"...ให้พิจารณาแก้ไขปัญหาการขาดสารไอโอดีนของราษฎร โดยการสำรวจพื้นที่ในแต่ละพื้นที่ถึงปัญหาและความต้องการเกลือ ซึ่งแต่ละท้องถิ่นจะมีปัญหาและความต้องการไม่เหมือนกัน โดยเฉพาะต้องสำรวจ "เส้นทางเกลือ" ว่าผลิตมาจากแหล่งใด ก็น่าที่จะเอาไอโอดีนไปผสมกับแห่งผลิตต้นทางเกลือเสียเลยทีเดียว..."
เพื่อให้มีกองทุนสำหรับนำมาเป็นค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลผู้ป่วยด้วยอหิวาตกโรค ได้พระราชทานพระราชดำริให้จัดทำภาพยนต์ส่วนพระองค์ขึ้น สำหรับให้ประชาชนที่เข้าชมมีส่วนร่วมในการบริจาจทุนทรัพย์สมทบเป็นกองทุนจัดหาน้ำเกลือ โดยจัดตั้งเป็นทุนปราบอหิวาตกโรค ซึ่งต่อมากองทุนนี้ใช้ไปก่อสร้างอาคารทางการแพทย์ของโรงพยาบาลภูมิพล และการสร้างตึกวชิราลงกรณ์ สภากาชาดไทย เพื่อส่งเสริมพัฒนาทางการแพทย์และให้บริการรักษาผู้เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ต่อไป



**ข้อมูลจาก หนังสือ ๘๐ พรรษา ปวงประชาสุขศานต์ จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ