ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปริญญาฯ-มหาวิทยาลัยทัฟทส์"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
<div id="king"> | <div id="king"> | ||
− | <center>(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)<br>'''คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช<br>ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยทัฟทส์ สหรัฐอเมริกา'''<br> | + | <center><h5>(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)</h5><br>'''คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช<br>ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยทัฟทส์ สหรัฐอเมริกา'''<br> |
'''ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญานินิศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์<br>ณ โรงแรมไฮแอทท์เซ็นทรัลพลาซา<br>วันจันทร์ ที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๒๗'''</center> | '''ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญานินิศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์<br>ณ โรงแรมไฮแอทท์เซ็นทรัลพลาซา<br>วันจันทร์ ที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๒๗'''</center> | ||
</div> | </div> | ||
<div id="king2"> | <div id="king2"> | ||
+ | === === | ||
+ | <div class="kindent">มหาวิทยาลัยทัฟทส์ถือเป็นเกียรติที่ได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญานิติศาสตร์บัณฑิตกิตติมศักดิ์แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริย์แห่งประเทศไทย เพื่อเป็นการสดุดีพระเกียรติคุณในฐานะที่ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจ อย่างหาผู้ใเสมอเหมือนได้ยาก ทรงริเริ่มสิ่งใหม่ๆ ด้วยพระราชหฤทัยที่กล้าหาญและเฉียบคมเป็นที่ประจักษ์ว่าพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทันสมัย เปี่ยมล้นด้วยพระปรีชาสามารถและพระมหากรุณา</div> | ||
+ | <div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงอุทิศพระองค์ทรงงานเพื่อการพัฒนาประเทศตลอดมา ด้วยทรงตระหนักว่าการพัฒนาประเทศ จะบรรลุผลเต็มที่สมตามความมุ่งหมาย จำเป็นจะต้องมีกฎหมายที่เป็นธรรมมาช่วยบังคับ และต้องใช้บังคับอย่างเที่ยงธรรม จึงจะนำความสุขสวัสดิ์มาสู่พสกนิกรของพระองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เคยพระราชทาน พระบรมราโชวาทแก่เนติบัณฑิตที่เพิ่งสำเร็จการศึกษาว่า "กฏหมายทั้งปวงนั้นเราบัญญัติขึ้นเพื่อใช้เป็นปัจจัยสำหรับรักษาความยุติธรรม กล่าวโดยสรุปคือใช้เป็นแบบแผนแห่งความประพฤติปฎิบัติของมหาชนสถานหนึ่ง กับใช้เป็นแม่บทในการพิจารณาตัดสินความประพฤติปฏิบัตินั้นๆ ให้เป็นไปโดยถูกต้องเที่ยงตรงอีกสถานหนึ่ง โดยที่กฏหมายเป็นแต่เครื่องมือในการรักษาความยุติธรรม ดังกล่าว จึงไม่ควรจะถือว่ามีความสำคัญยิ่งไปกว่าความยุติธรรม หากควรจะต้องถือว่าความยุติธรรมมาก่อนกฏหมายและอยู่เหนือกฏหมาย การพิจารณาพิพากษาอรรถคดีใดๆ โดยคำนึงถึงแต่ความถูกผิดตามกฏหมายเท่านั้นดูจะไม่เป็นการเพียงพอ จำต้องคำนึงถึงความยุติธรรมซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ด้วยเสมอ การใช้กฏหมายจึงจะมีความหมายและได้ผลที่ควรจะได้" | ||
− | + | ในพุทธศักราช '''๒๔๙๓*''' พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เวลานั้นประเทศไทยเพิ่งจะเริ่มเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขได้ไม่นาน ทั้งเพิ่งจะผ่านพ้นความกดดันจากภัยสงคราม และการยึดครอง แต่ด้วยความแน่วแน่ในพระราชปณิธานของสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า ในอันที่จะธำรงไว้ซึ่งเอกราชของชาติ และความผาสุขของพสกนิกร พระองค์ได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจโดยสมบูรณ์และกว้างขวางยิ่งขึ้นทุกขวบปีที่ผ่านมา สมกับที่ทรงเป็นประมุขของชาติ ได้พระราชทานกำลังใจแก่ประชาชน และทรงเป็นผู้ปกป้องพสกนิกรของพระองค์อย่างแท้จริง | |
− | + | ||
− | + | ในฤดูต่าง ๆ ในรอบปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชนีนาถ จะเสด็จพระราชดำเนินไปยังท้องถิ่น ที่อยู่ห่างไกลความเจริญทั่วราชอาณาจักร ในการนี้ ได้ทรงนำ[[การแพทย์|หน่วยแพทย์]] ผู้เชี่ยวชาญทาง[[การเกษตร]] การพัฒนาด้านโภชนาการ แนวความคิดใหม่ๆ ด้านการศึกษา และมาตรการเสริมสร้างความมั่นคง ปลอดภัย ไปพระราชทานแก่เหล่าพสกนิกร พระองค์สนพระราชหฤทัยในนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทุกอย่าง และมีพระราชหฤทัยแน่วแน่ในอันที่จะหาทางนำสิ่งใหม่ๆ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพาชีวติของพสกนิกรด้านสุขอนามัย การศึกษา ตลอดจนความกินดีอยู่ดี และความมั่นคงปลอดภัย | |
− | + | ||
− | + | ผลสำเร็จจากพระปรีชาสามารถของพระองค์ เป็นตัวอย่างอันงดงามสำหรับประมุขของประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และรัฐบาลของพระองค์เป็นเสมือนดวงประทีปส่องทางให้แก่ชาวโลก ด้วยพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีต่อผู้ลี้ภัยชาวอินโดจีนผู้น่าสงสาร ที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอยู่ในประเทศไทยเป็นจำนวนนับแสนๆ คน ประเทศไทยได้อุทิศทรัพยากรของชาติเพื่อช่วยเหลือพวกเขาด้วยน้ำใจ ช่วยผู้ลี้ภัยเเป็นจำนวนนับพันนับหมื่นคนรอดพ้นจากความตาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงห่วงใยเด็กที่ต้องพลอยรับเคราะห์จากเหตุการณ์อันน่าเศร้าสลดใจนี้ | |
− | + | ||
− | + | นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังเป็นพหระประมุขในยามที่ประเทศชาติต้องการผู้นำ พระองค์ทรงพระปรีชาสามารถรอบด้าน ทรงชี้ให้พสกนิกรเห็นข้อดีของการนำประเพณีในอดีตมาผสมผสานกับสิ่งใหม่ๆ ที่เหมาะสมสำหรับการรังสรรค์ นวัตกรรมในยุคปัจจุบัน ทรงให้ความสำคัญกับคุณค่าของปรัชญา ศาสนา และวิถีทางสังคม ของเอเชีย ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าทรงคำนึงถึงความยุติธรรม ที่กอปรด้วยเมตตาธรรมเป็นอย่างยิ่ง ในขณะเดียวกัน พระองค์ก็ได้ทรงแสวงหาวิธีการที่จะทำให้คุณค่าต่างๆ ดังกล่าวดำรงอยู่ได้อย่างสอดคล้องกลมกลืน กับการค้นคว้าวิจัยอยู่ตลอดเวลา ของโลกตะวันตกในด้านธรรมชาติของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนรูปแบบการพัฒนาทางการเมืองและสังคมที่เกี่ยวเนื่องกัน | |
+ | |||
+ | ด้วยเหตุผลทั้งปวงที่กล่าวมา รวมทั้งการได้ทรงแสดงให้ประจักษ์ชัดแจ้งตลอดมาว่าทรงธำรงไว้ซึ่งทศพิธราชธรรมแห่งพระมหากษัตริย์ มหาวิทยาลัยทัฟทส์จึงถือเป็นเกียรติอันพิเศษสุด ที่ได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญานิติศาสตรดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แค่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในโอกาสนี้ | ||
แถว 20: | แถว 25: | ||
− | [[ภาพ:มหาวิทยาลัยทัฟทส์.jpg| center]] | + | [[ภาพ:มหาวิทยาลัยทัฟทส์.jpg|อธิการบดีมหาวิทยาลัยทัฟทส์ สหรัฐอเมริกาเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาททูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาบัตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์|center]] |
<center> วันจันทร์ ที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๒๗ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดการประชุมอํธิการบดีระหว่างประเทศเต็มรูป รอบ ๓ ปี ครั้งที่ ๗<br>ณ โรงแรมไฮแอทท์เซ็นทรัลพลาซา กรุงเทพมหานคร ในโอกาสนี้ อธิการบดีมหาวิทยาลัยทัฟทส์ สหรัฐอเมริกา<br>เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาททูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาบัตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์</center> | <center> วันจันทร์ ที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๒๗ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดการประชุมอํธิการบดีระหว่างประเทศเต็มรูป รอบ ๓ ปี ครั้งที่ ๗<br>ณ โรงแรมไฮแอทท์เซ็นทรัลพลาซา กรุงเทพมหานคร ในโอกาสนี้ อธิการบดีมหาวิทยาลัยทัฟทส์ สหรัฐอเมริกา<br>เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาททูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาบัตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์</center> | ||
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:32, 15 กรกฎาคม 2551
(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)
คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยทัฟทส์ สหรัฐอเมริกา
ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญานินิศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
ณ โรงแรมไฮแอทท์เซ็นทรัลพลาซา
วันจันทร์ ที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๒๗
ในพุทธศักราช ๒๔๙๓* พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เวลานั้นประเทศไทยเพิ่งจะเริ่มเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขได้ไม่นาน ทั้งเพิ่งจะผ่านพ้นความกดดันจากภัยสงคราม และการยึดครอง แต่ด้วยความแน่วแน่ในพระราชปณิธานของสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า ในอันที่จะธำรงไว้ซึ่งเอกราชของชาติ และความผาสุขของพสกนิกร พระองค์ได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจโดยสมบูรณ์และกว้างขวางยิ่งขึ้นทุกขวบปีที่ผ่านมา สมกับที่ทรงเป็นประมุขของชาติ ได้พระราชทานกำลังใจแก่ประชาชน และทรงเป็นผู้ปกป้องพสกนิกรของพระองค์อย่างแท้จริง
ในฤดูต่าง ๆ ในรอบปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชนีนาถ จะเสด็จพระราชดำเนินไปยังท้องถิ่น ที่อยู่ห่างไกลความเจริญทั่วราชอาณาจักร ในการนี้ ได้ทรงนำหน่วยแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญทางการเกษตร การพัฒนาด้านโภชนาการ แนวความคิดใหม่ๆ ด้านการศึกษา และมาตรการเสริมสร้างความมั่นคง ปลอดภัย ไปพระราชทานแก่เหล่าพสกนิกร พระองค์สนพระราชหฤทัยในนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทุกอย่าง และมีพระราชหฤทัยแน่วแน่ในอันที่จะหาทางนำสิ่งใหม่ๆ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพาชีวติของพสกนิกรด้านสุขอนามัย การศึกษา ตลอดจนความกินดีอยู่ดี และความมั่นคงปลอดภัย
ผลสำเร็จจากพระปรีชาสามารถของพระองค์ เป็นตัวอย่างอันงดงามสำหรับประมุขของประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และรัฐบาลของพระองค์เป็นเสมือนดวงประทีปส่องทางให้แก่ชาวโลก ด้วยพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีต่อผู้ลี้ภัยชาวอินโดจีนผู้น่าสงสาร ที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอยู่ในประเทศไทยเป็นจำนวนนับแสนๆ คน ประเทศไทยได้อุทิศทรัพยากรของชาติเพื่อช่วยเหลือพวกเขาด้วยน้ำใจ ช่วยผู้ลี้ภัยเเป็นจำนวนนับพันนับหมื่นคนรอดพ้นจากความตาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงห่วงใยเด็กที่ต้องพลอยรับเคราะห์จากเหตุการณ์อันน่าเศร้าสลดใจนี้
นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังเป็นพหระประมุขในยามที่ประเทศชาติต้องการผู้นำ พระองค์ทรงพระปรีชาสามารถรอบด้าน ทรงชี้ให้พสกนิกรเห็นข้อดีของการนำประเพณีในอดีตมาผสมผสานกับสิ่งใหม่ๆ ที่เหมาะสมสำหรับการรังสรรค์ นวัตกรรมในยุคปัจจุบัน ทรงให้ความสำคัญกับคุณค่าของปรัชญา ศาสนา และวิถีทางสังคม ของเอเชีย ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าทรงคำนึงถึงความยุติธรรม ที่กอปรด้วยเมตตาธรรมเป็นอย่างยิ่ง ในขณะเดียวกัน พระองค์ก็ได้ทรงแสวงหาวิธีการที่จะทำให้คุณค่าต่างๆ ดังกล่าวดำรงอยู่ได้อย่างสอดคล้องกลมกลืน กับการค้นคว้าวิจัยอยู่ตลอดเวลา ของโลกตะวันตกในด้านธรรมชาติของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนรูปแบบการพัฒนาทางการเมืองและสังคมที่เกี่ยวเนื่องกัน
ด้วยเหตุผลทั้งปวงที่กล่าวมา รวมทั้งการได้ทรงแสดงให้ประจักษ์ชัดแจ้งตลอดมาว่าทรงธำรงไว้ซึ่งทศพิธราชธรรมแห่งพระมหากษัตริย์ มหาวิทยาลัยทัฟทส์จึงถือเป็นเกียรติอันพิเศษสุด ที่ได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญานิติศาสตรดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แค่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในโอกาสนี้
*พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ และเสด็จเข้าการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓
ณ โรงแรมไฮแอทท์เซ็นทรัลพลาซา กรุงเทพมหานคร ในโอกาสนี้ อธิการบดีมหาวิทยาลัยทัฟทส์ สหรัฐอเมริกา
เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาททูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาบัตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
หน้าแรกประมวลคำสดุดีพระเกียรติคุณฯ | บัญชีปริญญาดุษฎีบัณฑิตฯ | บัญชีตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ฯ | บัญชีรางวัลฯ | พระราชกรณียกิจ |