ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่5"

(‎)
แถว 21: แถว 21:
 
<div style="float:left; padding-left:5px">'''จุดกำเนิดโรงเรียนร่มเกล้า'''
 
<div style="float:left; padding-left:5px">'''จุดกำเนิดโรงเรียนร่มเกล้า'''
  
<div class="kindent">เมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๑๕ ได้เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมหน่วยทหารที่ปฏิบัติการอยู่ ณ ภูพานน้อย อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม และมีพระราชประสงค์จะให้หน่วยทหารกองทัพภาคที่ ได้มีโอกาสช่วยเหลือประชาชนในด้านการศึกษาตามโอกาสอันควร โดยเป็นผู้ก่อสร้างโรงเรียนขึ้นโดยที่พระองค์จะทรงสนับสนุนวัสดุในการก่อสร้างให้เป็นบางส่วนซึ่งเป็น "จุดกำเนิดของโรงเรียนร่มเกล้า"</div>
+
<div class="kindent">เมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๑๕ ได้เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยม<br />หน่วยทหารที่ปฏิบัติการอยู่ ณ ภูพานน้อย อำเภอนาแก<br /> จังหวัดนครพนม และมีพระราชประสงค์จะให้หน่วยทหาร<br />กองทัพภาคที่ ได้มีโอกาสช่วยเหลือประชาชนในด้านการ<br />ศึกษาตามโอกาสอันควร โดยเป็นผู้ก่อสร้างโรงเรียนขึ้น<br />โดยที่พระองค์จะทรงสนับสนุนวัสดุในการก่อสร้างให้เป็น<br />บางส่วนซึ่งเป็น '''"จุดกำเนิดของโรงเรียนร่มเกล้า"'''</div>
  
<div class="kindent">ทรงริเริ่มโรงเรียนร่มเกล้าแห่งแรกที่บ้านหนองแคน ตำบลดงหลวง จังหวัดนครพนม ซึ่งเป็นพื้นที่สีแดงเข้ม ที่มีผู้มีอุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างกับรัฐบาลมารวมกลุ่มกันในขณะนั้น (เป็นทางผ่านของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ใช้ขึ้นลงจากเทือกเขาภูพาน) โดยได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพรองค์ ก่อสร้างอาคารเรียนถาวรหลังแรก</div>
+
<div class="kindent">ทรงริเริ่มโรงเรียนร่มเกล้าแห่งแรกที่บ้านหนอง<br />แคน ตำบลดงหลวง จังหวัดนครพนม ซึ่งเป็นพื้นที่สีแดงเข้ม ที่มีผู้มีอุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างกับรัฐบาลมา<br />รวมกลุ่มกันในขณะนั้น (เป็นทางผ่านของผู้ก่อการร้าย<br />คอมมิวนิสต์ใช้ขึ้นลงจากเทือกเขาภูพาน) โดยได้พระราชทาน<br />พระราชทรัพย์ส่วนพรองค์ ก่อสร้างอาคารเรียนถาวร<br />หลังแรก</div>
 
</div>
 
</div>
  

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:18, 12 มีนาคม 2551

ตราสัญลักษณ์80ปี.jpg


ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)

ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)

ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)

ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)

ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)

ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)

ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)

ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)

ทศวรรษที่ ๕ กษัตริย์ผู้ทรงงานหนักในการสร้างรากฐานการพัฒนา "คน" (พ.ศ. ๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)

...การปิดทองหลังพระนั้น เมื่อถึงคราวจำเป็นก็ต้องปิด
ว่าที่จริงแล้วคนโดยมากไม่ค่อยชอบปิดทองหลังพระกันนัก เพราะนึกว่าไม่มีใครเห็น
แต่ถ้าทุกคนพากันปิดทองแต่ข้างหน้า ไม่มีใครปิดทองหลังพระเลย พระจะเป็นพระที่งามบริบูรณ์ไม่ได้...

พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๐๖

จุดกำเนิดโรงเรียนร่มเกล้า
เมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๑๕ ได้เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยม
หน่วยทหารที่ปฏิบัติการอยู่ ณ ภูพานน้อย อำเภอนาแก
จังหวัดนครพนม และมีพระราชประสงค์จะให้หน่วยทหาร
กองทัพภาคที่ ๒ ได้มีโอกาสช่วยเหลือประชาชนในด้านการ
ศึกษาตามโอกาสอันควร โดยเป็นผู้ก่อสร้างโรงเรียนขึ้น
โดยที่พระองค์จะทรงสนับสนุนวัสดุในการก่อสร้างให้เป็น
บางส่วนซึ่งเป็น "จุดกำเนิดของโรงเรียนร่มเกล้า"
ทรงริเริ่มโรงเรียนร่มเกล้าแห่งแรกที่บ้านหนอง
แคน ตำบลดงหลวง จังหวัดนครพนม ซึ่งเป็นพื้นที่สีแดงเข้ม ที่มีผู้มีอุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างกับรัฐบาลมา
รวมกลุ่มกันในขณะนั้น (เป็นทางผ่านของผู้ก่อการร้าย
คอมมิวนิสต์ใช้ขึ้นลงจากเทือกเขาภูพาน) โดยได้พระราชทาน
พระราชทรัพย์ส่วนพรองค์ ก่อสร้างอาคารเรียนถาวร
หลังแรก


ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"

จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ